การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์การบริหารส่วนตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

Main Article Content

ชนาธิป มินสิน
นิวัตน์ สวัสดิ์แก้ว
นุกูล ชิ้นฟัก

บทคัดย่อ

การศึกษาในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน และศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์การบริหารส่วนตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ศึกษาเป็นเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย เก็บรวบรวมข้อมูลจาก ประชาชนในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วน ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติติเชิงพรรณนา และทดสอบสมมติฐานด้วยการวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณ ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนรวมในภาพรวมอยู่ในระดับน้อย ด้านทัศนคติในการพัฒนาท้องถิ่นอยู่ในระดับน้อย รองลงมา คือ ด้านผู้นำท้องถิ่น ด้านการสื่อสารและการประชาสัมพันธ์ และด้านความรู้ความเข้าใจของประชาชน โดยทั้ง 3 ด้านอยู่ในระดับน้อย และปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการทำแผนพัฒนาท้องถิ่น ได้แก่ ทัศนคติในการพัฒนาท้องถิ่น ความรู้ความเข้าใจของประชาชน การสื่อสารและการประชาสัมพันธ์ และผู้นำท้องถิ่น มีผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์การบริหารส่วนตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

Article Details

บท
Research Articles

References

กรมส่งเสริมการปกครอง. (2546). คู่มือการจักทำแผนพัฒนาท้องถิ่น. ประเทศไทย: ชุมชน สหกรณ์การเกษตรแห่ง.

กระทรวงมหาดไทย. (2548). ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาของ องค์กร. ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 122, ตอนพิเศษ 140 ง .

กุสุมา เขียวเพกา. (2561). การมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่นของประชาชนในองค์การบริหารส่วนตำบลร่อนทอง อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. บทความวิจัย. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

กฤษณา ชัยเดี่ยว และคณะ. (2565). ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น 5 ปี ของเทศบาลตำบลทาสบชัย อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน. วารสาร Interdisciplinary Academic and Research Journal, 3 (6): November- December 2023

กรธวัช ปทุมยา. (2564). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการปกครองส่วน ท้องถิ่นกรณีศึกษาพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลบึงคำพร้อย อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี. บทความวิจัย รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ชนิตา ชัยศุภวัฒน์. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารการศึกษาแบบมีส่วนร่วมกับ ประสิทธิผลของงานวิชาการของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1. วิทยานิพนธ์ ค.ม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

ธวัชชัย สนฺติธมฺโม (วรรณนาวิน). (2561). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชนใน เขตเทศบาลเมืองสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว. สารนิพนธ์ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ธิวา โสภิพันธ์. (2563). การมีส่วนร่วมของประชาชนภายใต้โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตเพื่อ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานรากในพื้นที่ตาม “โครงการไทยนิยม ยั่งยืน” (หมู่บ้าน/ชุมชนละสองแสน) อำเภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ณัฐนันท์ ไชยสิริ. (2565). ปัจจัยด้านการวางแผนภายในองค์กรที่มีผลต่อประสิทธิภาพการ ทำงานของพนักงานบริษัทเอกชนในเขตพื้นที่จังหวัดกรุงเทพมหานคร. บทความวิจัย บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

นันทพร อัศวกุลไพโรจน์. (2561). แนวทางพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการ บริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล ของเทศบาลนครรังสิต อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี. วิทยานิพนธ์ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรังสิต

นิรุธ ประสิทธิเมตต์. (2540). การมีส่วนร่วมของครูในการป้องกันการแพร่ระบาดยาบ้า ใน โรงเรียน มัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษาในจังหวัดนครสวรรค์.กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

นิลมณี อุทิศผล. (2563). อิทธิพลของทัศนคติและการรับรู้ข่าวสารที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมใน การพัฒนาชุมชนของประชาชนในพื้นที่ตำบลคลองหก. การค้นคว้าอิสระ บริหารธุรกิจ มหาวิทยลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

บดินทร์ เดเบาะจาโก. (2564). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตำบลบาตง อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส. วิทยานิพนธ์ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

ปัญญา เฉลียวชาติ. (2560). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการวางแผนพัฒนาตำบลขององค์การบริหารส่วนตำบลนครสวรรค์ออก อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเพื่อการ พัฒนาท้องถิ่น. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

ปาริชาติ วลัยเสถียรและคณะ. 2543. กระบวนการและเทคนิคการทำงานของนักพัฒนา.พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : โครงการเสริมสร้างการเรียนรู้เพื่อชุมชนเป็นสุข (สรส.).

พิชญดา เรืองเดช. (2542). ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของสตรีในกิจกรรมพัฒนาอาชีพ เสริมของครอบครัวเกษตรกรในหมู่บ้านรอบศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจากพระราชดำริ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

พิมพ์พร เริงทัย. (2563). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น: กรณีศึกษา เทศบาลตำบลดงคอน อำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท.มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วินัย มนัสปัญญากุล. (2544). การมีส่วนร่วมและแนวทางในการป้องกันปัญหายาบ้าของผู้นำชุมชน : ศึกษากรณี ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของสถานีตำรวจภูธรตำบลลูกแก อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. ศึกษาศาสตร์. มหาวิทยาลัยศิลปากร

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560. (2560). สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ปฏิบัติหน้าที่สำนักงานเลขาธิการสภานิติบัญญัติแห่งชาติ.

สาธิต พิรุณสาร. (2561). ประสิทธิผลการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์การบริหารส่วนตำบลในอำเภอหนองใหญ่ จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2564). กรอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13. สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ

สุเมธ ทรายแก้ว. (2536). ปัจจัยที่มีต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ : ศึกษากรณีโครงการการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ จังหวัดอุดรธานี (รายงานผลงานวิจัย). คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์:กรุงเทพฯ.

สุธิมา เทพวงค์. (2563). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นของ องค์การบริหารส่วนตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ. งานนิพนธ์ รัฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา

อติวัส ศิริพันธ์. (2563). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาท้องถิ่นเทศบาลตำบลหลักหกอำเภอเมืองจังหวัดปทุมธานี. วิทยานิพนธ์ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรังสิต.

อคิน รพีพัฒน์. (2527). การมีส่วนร่วมของชุมชนในสภาพสังคมและวัฒนธรรมไทยในการมีส่วน ร่วมของประชาชนในการพัฒนา.กรุงเทพฯ :ศักดิ์โสภาการพิมพ์.

อนันต์ ศรีโสภา. (2527). หลักการวิจัยเบื้องต้น. กรุวเทพมหานคร. ไทยวัฒนาพานิช.

อาภากร ทองขำ. (2562). การมีส่วนร่วมของตัวแทนประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์การบริหารส่วนตำบลบางน้ำผึ้ง อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ. งานนิพนธ์ รัฐศาสตรมหาบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

องค์การบริหารส่วนตำบลมะนังยง. (2566). แผนพัฒนาท้องถิ่น พ.ศ. 2566-2570. ประเทศไทย: องค์การบริหารส่วนตำบลมะนังยง

Best and Kahn James V. (1993). Research in Education. 7 th ed. Boston: Allyn and Bacon.p. 246 – 250

Franklyn L. (1985). Popular Participation in Planning for Basic Weed: Concepts Methods and Practices. Alder Shot: Gower Publishing Co., Ltd