แนวทางการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาหนองคาย

Main Article Content

พิพัฒพงษ์ สุวรรณโสภา
ธีระพล เพ็งจันทร์

บทคัดย่อ

          การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาหนองคาย กลุ่มผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 คน ซึ่งได้จากการกำหนดคุณสมบัติแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการสร้างข้อสรุปสร้างข้อสรุป ผลการวิจัยพบว่า แนวทางการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมเอื้อต่อการเรียนรู้ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาหนองคาย ได้แก่ 1) ด้านกายภาพ จำนวน 10 แนวทาง 2) ด้านการบริหาร จำนวน 10 แนวทาง  3) ด้านวิชาการจำนวน 10 แนวทาง

Article Details

บท
Research Articles

References

ทรรศนีย์ วราห์คำ. (2554). การจัดการศึกษาสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของโรงเรียน วัดจันทร์ประดิษฐาราม สังกัดสำนักงานเขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ธีระ รุญเจริญ. (2553). ความเป็นมืออาชีพในการจัดและบริหารการศึกษายุคปฏิรูปการศึกษาเพื่อปฏิรูป รอบ 2 และประเมินภายนอกรอบ 3. ขอนแก่น : ข้าวฟ่าง.

บุญชม ศรีสะอาด. (2556). วิธีการทางสถิติสำหรับการวิจัย เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2556). รวมบทความวิชาการรัฐศาสตร์ ครบรอบ 32 ปีสาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. อ้างถึงใน สถาปนีย์ ยศคําลือ. (2564). การพัฒนาโปรแกรมการพัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน สำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 3. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารและพัฒนาการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

รุ่งนภา คนเล. (2553). การศึกษาการจัดสภาพแวดล้อมของโรงเรียนบ้านสองสลึง สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาระยอง เขต 2. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา.

วิภา ร่วมโพธิ์รี. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในโรงเรียน กับมาตรฐานคุณภาพสถานศึกษาด้านผู้เรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา จันทบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาหนองคาย. (2566). รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565. สืบค้นเมื่อ 17 พฤษภาคม 2566, จาก https://www.sesaonk.go.th/?page_id=12024

อัสมา พารึลที. (2559). การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของโรงเรียนเอกชน ระดับประถมศึกษาจังหวัดสงขลา. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.

อารียา สตารัตน์. (2556). การจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาของโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตราชเทวี. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษาหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

Rovinelli, R. J., & Hambleton, R. K. (1977). On the use of content specialists in the Assessment of criterion-referenced test item validity. Dutch Journal of Educational Research, 2, 49-60. อ้างถึงใน ผ่องศรี วาณิชย์ศุภวงศ์. (2546). ระเบียบวิธิีทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 4. ปัตตานี : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตปัตตานี.