ภาวะผู้นำครูที่ส่งผลต่อสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1

Main Article Content

ตติยา โภคาพานิช
วัลนิกา ฉลากบาง
พรเทพ เสถียรนพเก้า

บทคัดย่อ

          การวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับภาวะผู้นำครู และระดับสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของครู 2) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำครูกับสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของครู 3) อำนาจพยากรณ์ของภาวะผู้นำครูที่ส่งผลต่อสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของครู และ 4) แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำครูที่ส่งผลต่อสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของครูในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนครเขต 1


            ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นำครูและสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของครูในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 2)  ภาวะผู้นำครูกับสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 มีความสัมพันธ์กันทางบวกในระดับต่ำ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (rxy = .319) 3) ภาวะผู้นำครูด้านที่มีอำนาจพยากรณ์สมรรถนะการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 คือ ด้านการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง (X2) สามารถเขียนสมการถดถอยในรูปคะแนนมาตรฐานได้ดังนี้  Z’y = 0.329ZX2 4) แนวทางพัฒนาภาวะผู้นำครูด้านการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง ผู้วิจัยได้เสนอไว้แล้ว

Article Details

บท
Research Articles

References

กิตติพัฒน์ คำแพง. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำของครูกับ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียนสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 31. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

จันทิมา แสงเลิศอุทัย. (2550). การพัฒนาหลักสูตรเสริมสร้างสมรรถภาพทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) สำหรับนักศึกษาวิชาชีพครู. ปริญญานิพนธ์ กศ.ด. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ชนกพร จุฑาสงฆ์. (2559). การพัฒนาโปรแกรมการเสริมสร้างสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ ของครูสังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. วิทยานิพนธ์ กศ.ด. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ชาริณี ตรีวรัญญู. (2550). การพัฒนาสมรรถภาพการจัดการเรียนการสอนของครูประถมศึกษาตามแนวคิดการศึกษาผ่านบทเรียน.วิทยานิพนธ์ ค.ม. กรุงเทพฯ :จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ไชยยศ วันอุทา. (2559). การพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างสมรรถนะภาวะผู้นำครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา. วิทยานิพนธ์ กศ.ด. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ณัฐพล ปินทอง. (2562). การสังเคราะห์องค์ประกอบและแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำครูในยุคการศึกษา 4.0. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ทศพร มนตรีวงษ์. (2559). การวิเคราะห์องค์ประกอบภาวะผู้นำครูในโรงเรียนมาตรฐานสากล สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ธิติสุดา แก้วหาญ และ ทนงศักดิ์ คุ้มไข่น้ำ. (2564). ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อสมรรถนะครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาหนองคาย. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย, 6 (4), 32.

นันทกา วารินิน. (2557). รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของครูสำหรับโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากำแพงเพชร เขต 2 . วิทยานิพนธ์ ค.ด.นครสวรรค์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

บุญชม ศรีสะอาด. (2553). การวิจัยเบื้องตน. กรุงเทพมหานคร : สุวีริยาสาส์น.

ผกามาศ บัวพงษ์ . ( 2564 ) . ภาวะผู้นำของครูและสภาพแวดล้อมในการทำงานที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ของครูในระดับมัธยมศึกษา. วิทยานิพนธ์ บธ.ม. กรุงเทพ ฯ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

พิพัฒน์ นนทนาธรณ์. (2556). ภาวะผู้นำเชิงปฏิบัติการ : Life Model. กรุงเทพฯ :ศูนย์ผู้นำธุรกิจเพื่อสังคม.

โพทอง พงสงคราม. (2562). สภาพปัญหาปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของภาวะผู้นำครูในวิทยาลัย ครูแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม.มหาวิทยาลัยขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ฤทธิศักดิ์ สุวรรณไตรย์. (2559). ปัจจัยภาวะผู้นำครูที่ส่งผลต่อความสำเร็จของการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดสกลนคร.วิทยานิพนธ์ ค.ด. สกลนคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

รัชฎาพร พิมพิชัย.(2556). รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำครูด้านการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็ก. สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.วิทยานิพนธ์ ค.ด.สกลนคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

รัตติยา พร้อมสิ้น. (2559). รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำครูในโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานศึกษาธิการภาค 11. วิทยานิพนธ์ กศ.ด. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

รัตนา กันทาดง. (2559). กระบวนการเสริมสร้างสมรรถนะภาวะผู้นำครู โรงเรียนแม่เมาะวิทยา จังหวัดลำปาง. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

รินนา ราชชารี. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะผู้นำครูในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ. วิทยานิพนธ์ ค.ม. สกลนคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏ สกลนคร.

วิโรจน์ สารรัตนะ. (2556). กระบวนทัศน์ใหม่ทางการศึกษากรณีทัศนะต่อการศึกษาศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : ทิพยวิสุทธิ์.

วีระพงศ์ ตะโกนอก. (2561). ปัจจัยภาวะผู้นำครูที่ส่งผลต่อชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. ขอนแก่น :มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ศิรินันท์ ทองป้อง. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำครูและประสิทธิผลงานวิชาการ ในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ. วิทยานิพนธ์ ค.ด. สกลนคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

ศิริพร กุลสานต์. (2557). รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำครูในการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา. วิทยานิพนธ์ ค.ด. สกลนคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏ สกลนคร.

วิชา พรหมโชติ (2564). การพัฒนาสมรรถนะครูด้านการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนสังกัดเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี. วิทยานิพนธ์ ค.ม. สุราษฏร์ธานี :

มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.

วิภาวรรณ เอกวรรณัง. (2560). การพัฒนาชุดประเมินสมรรถนะวิชาชีพครู สำหรับนักศึกษา ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฎ วิทยานิพนธ์ ศษ.ด.กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

วีรยุทธ แสงไชย. (2564). ภาวะผู้นำครูที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1.วิทยานิพนธ์ ค.ด. สกลนคร :มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

สมุทร ชำนาญ. (2556). ภาวะผู้นำทางการศึกษา ทฤษฎีและปฏิบัติ. (พิมพ์ครั้งที่ 2). ระยอง : พี.เอส.การพิมพ์.

สร้อยสุดา กรีน. (2563). รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำครูในการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานศึกษาธิการภาค 11. วิทยานิพนธ์ ค.ม.สกลนคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

สุรีรัตน์ พัฒนเธียร. (2552). ตัวแบบความสามารถทางภาวะผู้นำครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน.วิทยานิพนธ์ ปร.ด. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2553). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช2551. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.กรุงเทพฯ: นักงานคณะการรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

อุษาวดี จันทรสนธิ (2552). การพัฒนาชุดฝึกอบรมทางไกลในการพัฒนาสมรรถนะครูด้าน การจัดการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ วิทยานิพนธ์ ศษ.บ. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

Cohen, D. and Loewenberg, D. (1999). Instruction, capacity, and improvement. Available May,15 2023 from wwwpersonal.umich.edu/~dball/papers/CohenBallInstructon Capacity-pdf.

Collinson, D. L. (2005). The Sage Handbook of Men and Masculinities. London: Sage.

Corcoran, T. and Goertz, M. (1995). Instructional capacity and high performanceschools. Educational Researcher, 24(9), 27-31.

Cosenza, M.N. (2015). Defining Teacher Leadership Affirming the Teacher Leader Model Standards. California : California Lutheran University.

Fisher, J.(2007) Teacher leadership and Organizational change : A Teacher Leadership Experience In A P-12 School. Queensland Dissertation, Ed.D Queensland : University of Southern Queensland.

Harris, A. (2002). Improving schools through teacher leadership. Educational Journal. 59, 22 – 23.

Harris, A. A. and Muijs, D. (2005). Improving School through Teacher Leadership. Comwall :MPG books.

York-Barr, J. and Duka, K. (2004). What do we Know about teacher leadership Findingsfrom two decades of scholarship. Review of Educational Research,74(3), 260.