ระบบสารสนเทศผ้าแส่วมรดกทางภูมิปัญญาท้องถิ่นจังหวัดศรีสะเกษ

Main Article Content

ธีรพงศ์ สงผัด

บทคัดย่อ

การวิจัยเรื่อง ระบบสารสนเทศผ้าแส่วมรดกทางภูมิปัญญาท้องถิ่นจังหวัดศรีสะเกษ มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศผ้าแส่วมรดกทางภูมิปัญญาท้องถิ่นจังหวัดศรีสะเกษ และเพื่อประเมินประสิทธิภาพและศึกษาความพึงพอใจในการใช้ระบบสารสนเทศผ้าแส่วมรดกทางภูมิปัญญาท้องถิ่นจังหวัดศรีสะเกษ โดยเป็นการวิจัยแบบผสมผสาน คือ การวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ  โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกตพฤติกรรม และใช้แบบสอบถามประมิน ความพึงใจของระบบสารสนเทศ ซึ่งกลุ่มตัวอย่างได้จากการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง ของสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผ้าแส่ว จำนวน 40 คน และประเมินประสิทธิภาพในการใช้ระบบสารสนเทศ จากผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 7 คน โดยใช้สถิติพื้นฐานในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


          ผลการศึกษาวิจัยพบว่า ระบบสารสนเทศผ้าแส่วมรดกทางภูมิปัญญาท้องถิ่นจังหวัดศรีสะเกษสามารถทำงานได้ตามที่กำหนดไว้  และผลการประเมินประสิทธิภาพของระบ[สารสนเทศ พบว่า ด้านความง่ายต่อการใช้งานระบบ อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.29   ด้านการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลในระบบ อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.57 และด้านการทำงานได้ตามฟังก์ชันงานของระบบ อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.47  และผลการประเมินความพึงพอใจในการใช้ระบบสารสนเทศ โดยรวมเกี่ยวกับฐานข้อมูลในส่วนของเนื้อหาในระดับมาก  

Article Details

บท
Research Articles

References

บุญโรช ศรีละพันธ์, 2559ภูมิปัญญาผ้าไหมลายลูกแก้วของกลุ่มชาติพันธุ์ในจังหวัดศรีสะเกษ,

วารสารศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 12(1), มกราคม-มิถุนายน 2559,

-305.

บุญชม ศรีสะอาด. (2560). การวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 10), กรุงเทพ: สุวีริยาสาส์น

ปัชฌา ตรีมงคล. (2559). การพัฒนากลยุทธ์การจัดการความรู้เชิงรุก สำหรับชุมชนผู้ผลิต

วัตถุดิบในห่วงโซ่อุปทานกิจการเพื่อสังคม (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต).

กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยศิลปากร,

ประเวศ วะสี. (2536). ภูมิปัญญาชาวบ้านกับการพัฒนาชนบท เล่ม 2. กรุงเทพฯ: อัมรินทร์.

พิชิต พวงภาคีศิริ. (2554). ระบบสารสนเทศภูมิปัญญาชาวบ้านตาบลนานกกก. อำเภอลับแล

จังหวัดอุตรดิตถ์. การประชุมราชภัฏนครสวรรค์วิจัย ครั้งที่ 1. 277-290.

พัชรา ปราชญ์เวทย์ และเอกเทศ แสงลับ. (2559). การใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกในการสร้าง

ลายผ้าของกลุ่มชาติพันธ์ในจังหวัดศรีสะเกษ. มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2559

(Thailand Research Expo 2016). โรงแรมเซ็นทราราแกรนด์ และบางกอกคอน

เวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิร์ล กรุงเทพฯ ระหว่างวันที่ 17-21 สิงหาคม 2559. หน้า

-202.

รุ่งรัศมี บุญดาว. (2555). การพัฒนาระบบในการหาความต้องการของลูกค้าสำหรับใช้ในการ

ผลิตผ้าทอมือเพื่อพัฒนาวิสาหกิจชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง.

วารสารวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรสวร, 7(1),

ตุลาคม–มีนาคม 2554, 79-88.

ลัดดาวรรณ เนานาดี. (2565). ข้อเสนอเชิงนโยบายการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ

และการสื่อสารเพื่อการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัยสะหวันนะเขต (ปริญญา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

ลัทธกาญจน์ กุยแก้ว และ พนิดา พานิชกุล (2563). ระบบออกแบบเสื้อแซวสําหรับวิเคราะห

ความตองการของลูกคาของวิสาหกิจชุมชนกลุมทอผาบานเมืองหลวง อําเภอหวยทับ

ทัน จังหวัดศรีสะเกษ. RMUTT Global Business and Economics Review,

(1), มกราคม - มิถุนายน 2563, 28-38.

สมศักดิ์ จีวัฒนาและ ชลิดา ภัทรศรีจิรากุล. (2558). การพัฒนาระบบฐานข้อมูลผ้าไหมทอมือ

ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนจังหวัดบุรีรัมย์. วารสารวิจัยและนวัตกรรมท้องถิ่น, 10(1),

มกราคม - มิถุนายน 2558, 59-67.

อรรถพล ช่วยค้ำชู. (2554). การพัฒนาโปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลสำหรับกระบวนการ

ขอผ่อนผันค่าบำรุงการศึกษา กรณีศึกษา : คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. (สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ. (2535). การนิเทศการศึกษา. กรุงเทพฯ:

โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

สุภาสินี วิเชียร. (2564). การพัฒนาคลังความรู้ภูมิปัญญาคชศาสตร์ชาวกูยในจังหวัดสุรินทร์.

วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ, 15(1), มกราคม - เมษายน 2564,

-53.