ผลการจัดกิจกรรมการเล่นทรายที่มีต่อความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัย โรงเรียนบ้านโชคชัยพัฒนา จังหวัดกำแพงเพชร

Main Article Content

จักรพันธุ์ จันทร์เจริญ
พิภพ เสวกวรรณ์

บทคัดย่อ

           การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัยโรงเรียนบ้านโชคชัยพัฒนา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กำแพงเพชร เขต 2 จังหวัดกำแพงเพชร ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเล่นทราย กลุ่มตัวอย่าง คือ เด็กปฐมวัย ที่มีอายุระหว่าง 5-6 ปี จำนวน 22 คน กำลังศึกษาอยู่ในชั้นอนุบาลปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนบ้านโชคชัยพัฒนา จังหวัดกำแพงเพชร ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม จำนวน 1 ห้องเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย คู่มือการจัดกิจกรรมการเล่นทราย และแบบทดสอบวัดความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบเครื่องหมายผลการวิจัยปรากฏว่า เด็กปฐมวัยโรงเรียนบ้านโชคชัยพัฒนา ที่ได้ร่วมกิจกรรมการ เล่นทรายมีความคิดสร้างสรรค์หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05

Article Details

บท
Research Articles

References

ฐิตาภรณ์ ธนูพราน. (2553). การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์

การเรียนรู้ที่สอดคล้องกับการทำงานของสมอง.บัณฑิตวิทยาลัย :มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

บุบผา เรืองรอง. (2561).การวิจัยและพัฒนาเพื่อพัฒนาครูและโรงเรียนเครือข่ายการฝึก

ประสบการณ์วิชาชีพครูของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

ประพันธ์สิริ สุเสารัจ.(2553).การพัฒนาการคิด (ฉบับปรับปรุงใหม่).กรุงเทพฯ. สำนักพิมพ์:ศุนย์

หนังสือจุฬา.

พัชรี ผลโยธิน. (25560). แหล่งเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการเล่นสำหรับเด็กปฐมวัย. ในประมวลสาระชุด

วิชาการเล่นของเล่นและเครื่องเล่นสำหรับเด็กปฐมวัย. หน่วยที่ 15. (พิมพ์ครั้งที่ 2).

นนทบุรี : สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

รุ่งนภา อัมรัตน์. (2565), การจัดประสบการณ์เรียนรู้โดยใช้กิจกรรมการเล่นทรายเพื่อพัฒนา

ความสามารถ ด้านการใช้กล้ามเนื้อเล็กของนักเรียนระดับอนุบาลปีที่ 2 โรงเรียนบ้านแพง

สะพัง.กรุงเทพฯ.คุรุสภาวิทยาจารย์.

วนิช สุธารัตน์. (2560). ความคิดและความคิดสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น .

สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. (2556). รายงานการประเมินคุณภาพ

ภายนอกรอบสาม (พ.ศ. 2554-2558) โรงเรียนบ้านโชคชัยพัฒนา กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.กระทรวงศึกษาธิการ

สิริมา ภิญโญอนันตพงษ์. (2550). การศึกษาปฐมวัย. กรุเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.

อารมณ์ สุวรรณปาล. (2560). การจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยดามความคิดสร้างสรรค์.

ในประมวลสาระชุดวิชาการจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัย. หน่วยที่ 8. (พิมพ์ครั้งที่

. นนทบุรี: สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

อารี พันธุ์มณี. (2552). ฝึกให้คิดเป็นคิดให้สร้างสรรค์. กรุงเทพฯ: ใยไหม.

Masiow,A.H. and Rogers,C.R.(1970).Motivation and personality.2. ed.New York:

Harper & Row.

Torrance, E.P. (1962). Education and Creative Potential Minneapolis. The University

of Minnesota Press

UNESCO-UNEP. (1983). Glossary of environmental education terms. Paris : UNESC