การลดความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจของสังคมด้วยศาสตร์พระราชา

ผู้แต่ง

  • อภิชิต เหมือยไธสง มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน
  • อาทิตย์ ผ่านพูล มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน
  • พงษ์มนัส ดีอด มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน

คำสำคัญ:

ศาสตร์พระราชา, การลดความเหลื่อมล้ำ, แก้ปัญหาวิกฤติ

บทคัดย่อ

บทความวิชาการฉบับนี้เป็นการศึกษาถึงหลักการของศาสตร์พระราชา เนื่องมาจากศาสตร์พระราชานั้นเป็นศาสตร์ต่าง ๆ ที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรรัชกาลที่ 9 พระราชทานให้ไว้แก่ประชาชนเพื่อให้สามารถผ่านพ้นวิกฤติต่าง ๆ ไปได้ โดยในปัจจุบันจะเห็นได้ว่าการแพร่ระบาดใหญ่ของ COVID - 19 ถือได้ว่าส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตประชาชนทั่วทุกประเทศเป็นอย่างมาก อีกทั้งยังส่งผลทำให้เศรษฐกิจตกต่ำ เนื่องมาจากสถานการณ์นี้ทำให้ประชาชนไม่สามารถที่จะเดินทางออกจากบ้านได้ อีกทั้งไม่สามารถเดินทางระหว่างประเทศได้ เพื่อเป็นการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส แต่อย่างไรก็ตามหากมองย้อนกลับดูทุนทางสังคมของประเทศไทยนั้นจะพบได้ว่า พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 ได้พระราชทานหลักการต่าง ๆ ให้ไว้เพื่อแก้ปัญหาวิกฤติให้สามารถผ่านพ้นไปได้ เช่น หลักการทรงงาน หลักการเศรษฐกิจพอเพียง และศาสตร์พระราชา “การเข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” เป็นต้น ซึ่งพระองค์ไม่ได้เพียงแต่มอบให้ไว้เป็นหลักการเท่านั้น จากงานวิจัยหลายชิ้นยังพบว่าการนำศาสตร์พระราชานั้นสามารถช่วยแก้ไขปัญหาในวิกฤติต่าง ๆ ได้พร้อมทั้งสามารถศาสตร์พระราชาสามารถช่วยแก้ปัญหาลดความเหลื่อมล้ำทางสังคมได้อีกด้วย

References

กระทรวงการต่างประเทศ. (2562, 1 กันยายน). ไทยกับสหประชาติ. สืบค้น 27 กุมภาพันธ์ 2564, จาก https://thai-inter-org.mfa.go.th/th/page/72184-ไทยกับสหประชาติ?menu=5d8477eb182d956ee700c670

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2555). ตามรอยพระเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ: ซัคเซส มีเดีย.

ณิชาภัส ชนาดิศัย. (2560). ศาสตร์พระราชา เรื่อง งานของพระราชา. กรุงเทพฯ: อมรินทร์คอมมิกส์.

ณิชาภัส ชนาดิศัย และ ทสมล ชนาดิศัย. (2560). ศาสตร์พระราชา เรื่อง พระอัจฉริยภาพของพระราชา. กรุงเทพฯ: อมรินทร์คอมมิกส์.

ธรรมนิติ. (2563, 13 กรกฎาคม). หลักการทรงงาน 23 ประการ ของในหลวงรัชกาลที่ 9. สืบค้น 15 สิงหาคม 2565, จาก https://www.dharmniti.co.th/หลักการทรงงาน-23-ประการของในหลวงรัชกาลที่-9

พระครูวิบูลสีลพรต และ พระมหามิตร ฐิตปญฺโญ. (2562). ศาสตร์พระราชากับการพึ่งตนเอง. วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 19(4), 165-176.

ไพฑูรย์ พนมสวย, สุทธญาณ์ โอบอ้อม และ อักษรสวรรค์ ศิริคุณ. (2561). ศาสตร์พระราชากับการพัฒนาทุนมนุษย์ที่ยั่งยืน. วารสาร มจร หริภุญชัยปริทรรศน์, 2(1), 95-108.

วงษ์สิริ เรืองศรี, ชนัญชิดา ทิพย์ญาณ และ นฤมล ดำอ่อน. (2563). ศาสตร์พระราชา ศาสตร์แห่งแผ่นดิน ศาสตร์แห่งการก่อเกิด “การพัฒนาชุมชน”. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 7(12), 264-279.

วิไลวัจน์ กฤษณะภูติ. (2561). ศาสตร์พระราชาพัฒนาสังคมไทยสู่สังคมโลก. วารสารวิชาการและวิจัยมหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 8(1), 1-9.

อรสุดา เจริญรัถ. (2550). คำพ่อสอน : ประมวลพระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ: มูลนิธิพระดาบส.

Bal, A. C., Reiss, A. E. B., Rudolph, C. W., & Baltes, B. B. (2011). Examining positive and negative perceptions of older workers: A meta-analysis. The Journals of Gerontology Series B, 66B(6), 687–698.

Chetty, R., Grusky, D., Hell, M., Hendren, N., Manduca, R., & Narang, J. (2017). The fading American dream: Trends in absolute income mobility since 1940. Science, 356(6336), 398-406.

Foschi, M. (1996). Double standards in the evaluation of men and women. Social Psychology Quarterly, 59(3), 237–254.

Guan, D., Wang, D., Hallegatte, S., Davis, S. J., Huo, J., Li, S., ... & Gong, P. (2020). Global supply-chain effects of COVID-19 control measures. Nature human behaviour, 4, 577-587.

Merluzzi, J., & Sterling, A. (2017). Lasting effects? Referrals and career mobility of demographic groups in organizations. ILR Review, 70(1), 105-131.

Pitesa, M., & Pillutla, M. M. (2019). Socioeconomic mobility and talent utilization of workers from poorer backgrounds: The overlooked importance of within-organization dynamics. Academy of Management Annals, 13(2), 737-769.

Pitesa, M., & Pillutla, M. M. (2019). Socioeconomic mobility and talent utilization of workers from poorer backgrounds: The overlooked importance of within-organization dynamics. Academy of Management Annals, 13(2), 737-769.

Rubery, J., & Grimshaw, D. (2015). The 40-year pursuit of equal pay: A case of constantly moving goalposts. Cambridge Journal of Economics, 39(2), 319–343.

Sawert, T. (2020). Understanding the mechanisms of ethnic discrimination: A field experiment on discrimination against Turks, Syrians and Americans in the Berlin shared housing market. Journal of Ethnic and Migration Studies, 46(19), 3937-3954.

United Nations (2018). Sustainable development goals. Retrieved February 27, 2021, from http://www.un.org/sustainabledevelopment/sustainable-development-goals

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-08-31