พลังโซเชียลมีเดียกับการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในปัจจุบัน
คำสำคัญ:
พลังโซเชียลมีเดีย, ปรากฎการณ์เสียงสะท้อนการเมือง, ความคาดหวังทางการเมืองบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์มุ่งนำเสนอพลังโซเชียลมีเดียกับปรากฎการณ์เสียงสะท้อนความคาดหวังทางการเมืองในปัจจุบัน พบว่า 1) พลังโซเชียลมีเดียปรากฎการณ์เสียงสะท้อนการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ปัจจุบันทำให้ประชาชนเชื่อมต่อกันได้ตลอดเวลา กระแสในสื่อโซเชียลก่อให้เกิดพลังผลักดัน และมีส่วนสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ประชาชนมีส่วนร่วมทางการเมืองมากขึ้น โดยได้รับการสื่อสารทำให้ประชาชนรับรู้ข้อมูลข่าวสารทางการเมืองมากขึ้น 2) พลังโซเชียลมีเดียปรากฏการณ์เสียงสะท้อนความคาดหวังทางการเมืองจากนักการเมืองโดยนักการเมืองสามารถแสดงตัวตน เพื่อการหาเสียงทางการเมือง พลังโชเชียลมีเดียสะท้อนความคาดหวังของประชาชนให้หันมาใช้วินัยเชิงบวกและจิตปัญญาศึกษาในบ้าน เช่น การให้ความรู้รวมถึงกิจกรรมการเลือกตั้งกับคนในครอบครัว ตลอดจนซึมซับเอาวัฒนธรรมทางการเมือง และการส่วนร่วมทางการเมืองมากขึ้น พลังโซเชียลมีเดียสะท้อนการทำงานของรัฐบาลจากประชาชน 3) พลังโซเชียลมีเดียปรากฎการณ์เสียงสะท้อนการเมืองในระบอบประชาธิปไตย โดยการปลดล็อคขีดจำกัดของพลังประชาชนธรรมดาในการออกความคิดเห็นอย่างกว้างขวางและรวดเร็ว ยังคงมีอยู่ในกลุ่มเยาวชนที่แสดงความเห็นต่าง และจุดยืนที่แตกแยกทางการเมือง
โดยก่อนการเลือกตั้งมักมีสัญญาณต่าง ๆ ทางการเมืองเกิดขึ้นทั้งในโลกแห่งความจริง และโลกโซเชียลมีเดียที่มีการรวมพลังทั้งจากฝ่ายการเมือง และฝ่ายสนับสนุนของแต่ละพรรค นอกจากนี้ยังพบความเท็จที่ถูกเผยแพร่อยู่ในกลุ่มของแพลตฟอร์มต่าง ๆ บนโชเชียลมีเดียมักจะกลายเป็นความจริงที่เชื่อกันเฉพาะกลุ่ม เพราะสมาชิกแต่ละคนภายในกลุ่มต่างเชื่อข้อมูลซึ่งกันและกันมากกว่าการอ้างอิงสื่อกระแสหลัก อันเป็นผลมาจากอคติในกลุ่มที่เกิดขึ้นจากการยืนยันของสมาชิกภายในกลุ่ม และหากความจริงลวงตาเหล่านี้เป็นเรื่องอ่อนไหวทางการเมือง และชักนำไปในทางที่ไม่ถูกต้อง จะทำให้ผลลัพธ์ทางการเมืองบิดเบี้ยวไป
References
คันธิรา ฉายาวงศ์. (2564). แนวโน้มการเมืองไทยกับสื่อสังคมออนไลน์ในศตวรรษที่ 21. วารสารเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มทร.พระนคร, 6(1), 97-107. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/jmctrmutp/article/view/252157
นารีรัตน์ แซ่เตียว. (2566, 18 พฤษภาคม). พลังโซเชียลมีเดียจุดติดกระแส‘ส้มทั่วไทย’. ฐานเศรษฐกิจ. https://www.thansettakij.com/thailand-elections/election-analysis/565663
บงกช ดารารัตน์. (2566, 7 พฤษภาคม). ว่าด้วยพื้นที่ทางการเมือง : นักการเมืองและโซเชียลมีเดีย. The Momentum. https://themomentum.co/ruleoflaw-polician-with-newmedia
ปุรวิชญ์ วัฒนสุข. (2566, 7 มิถุนายน). ‘การเมือง’ หลังเลือกตั้ง 66 การเปลี่ยนแปลงกับ ‘พลังสื่อโซเชียล’. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. https://tu.ac.th/thammasat-070666-politics-after-the-election
พันธ์ศักดิ์ อาภาขจร. (2566). กำลังโหลด"ม็อบโซเชียล" กับพลังเคลื่อนไหวทางการเมือง. สืบค้น 12 ตุลาคม 2566, จาก https://www.nationtv.tv/news/scoop/378923377
พันธ์ศักดิ์ อาภาขจร. (2566, 25 เมษายน). ถอดสัญญาณเลือกตั้งปี 66 ในโลกโชเชียลมีเดีย. ไทยรัฐ. https://www.thairath.co.th/scoop/interview/2685406
พิทักษ์ศักดิ์ ทิศาภาคย์, ชนัญสรา อรนพ ณ อยุธยา, และวีระเทพ ปทุมเจริญวัฒนา. (2562). การพัฒนาตัวบ่งชี้การรู้เท่าทันสื่อ สารสนเทศ และเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองประชาธิปไตยของผู้สูงอายุในประเทศไทย. วารสารการสื่อสารมวลชน, 7(1), 147-190. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/masscomm/article/view/184164
ร็อคเก็ต. (2565, 5 ตุลาคม). Marketing Funnel คืออะไร? มาทำความรู้จักกลยุทธ์ ขั้นตอน ของการทำตลาดออนไลน์. Rocket. https://www.rocket.in.th/blog/marketing-funnel
วสุพรรษา ขวัญมงคล. (2563). รัฐบาลกับการใช้โซเชียลมีเดียสร้างความนิยมทางการเมือง: ศึกษาเฟซบุ๊ก เพจ “ประยุทธ์ จันทร์โอชา Prayut Chan-o-cha” [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์].มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
วีโอเอ. (2565, 10 มิถุนายน). วิเคราะห์: การปฏิรูปโซเชียลมีเดียจะช่วยประชาธิปไตยสหรัฐฯหรือไม่?. วีโอเอไทย. https://www.voathai.com/a/6610632.html
สำนักข่าวอิศรา. (2566, 20 มีนาคม). 9 สัญญาณการเมืองไทย...อันตรายบนโลกไซเบอร์!. https://www.isranews.org/article/south-news/south-slide/117105-electionsocialmedia.html
สำนักข่าวอิสรา. (2566). วิเคราะห์ : การปฏิรูปโซเชียลมีเดียจะช่วยประชาธิปไตยสหรัฐฯหรือไม่?. สืบค้น 12 ตุลาคม 2566, จาก https://www.voathai.com/a/6610632.html
สุดารัตน์ พรมสีใหม่. (2566, 2 ตุลาคม). ‘และนี่คือเสียงของชาวเน็ต’: เมื่อโซเชียลมีเดียคือ game changer การเมืองไทย?. The101.World. https://www.the101.world/social-media-game-changer/
เสกสม แจ้งจิต. (2561). นักการเมืองกับการปรับตัวในยุคสื่อโซเชียล. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย. (2566, 12 กันยายน). เมื่อลูกวัยรุ่นสนใจการเมือง เราจะสร้างพลังที่สืบเนื่องได้อย่างไร. Citizenthaipbs. https://thecitizen.plus/node/86473
อดิสรณ์ อันสงคราม. (2556). ผลกระทบจากการใช้สื่อโซเชียลมีเดียของคนวัยทำงานในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
อัคณัฐ วรรธนะสมบัติ. (2566, 1 พฤศจิกายน). โซเชียลมีเดียสร้างการเคลื่อนไหวทางสังคมได้ แต่ก็ทำให้ล้มเหลวได้เช่นกัน?. The Matter. https://thematter.co/thinkers/success-and-failure-of-social-media/88989
Brissenden, J. & Moloney, K. (2005). Political PR in the 2005 UK general election : Winning and losing with a little help from spin. Journal of Marketing Management, 21(9-10). 1005-1020.
Charles, M. (2023). Appy City: Transforming Our Lives Through Urban Design. Wicker Hill.
Corpuz, R. (2013). Article Review: The Emerging Role of Social Media in Political and Regime Change by Rita Safranek. Academia.edu. https://www.academia.edu/11859835/Article_Review_The_Emerging_Role_of_Social_Media_in_Political_and_Regime_Change_by_Rita_Safranek
Froehilch, R. & Rudiger, B. (2006). Framing political public relations: measuring success of political communications strategies in Germany. Public Relations Review, 32(1), 18-25.
McNair, B. (1995). An introduction to political communication. Routledge.
Moloney, K. & Colmer, R. (2001). Does Political PR Enhance or Trivialise Democracy? The UK General Election 2001 as Contest between Presentation and Substance. Journal of Marketing Management, 17(9-10), 957-968.
Nerberry, C. (2022). 16 Key Social Media Metrics to Track in 2023. Retrieved October 12, 2023, from https://blog.hootsuite.com/social-media-metrics/
Susan Gunelius. (2019, 23 April). 10 Laws of Social Media Marketing. Entrepreneur. https://www.entrepreneur.com/science-technology/10-laws-of-social-media-marketing/299334
Vedel, T. (2003). Political communication in the age of internet. Routledge.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 ปัญญา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.