การพัฒนาเด็กปฐมวัยในยุค 4.0

ผู้แต่ง

  • กันตวรรณ มีสมสาร
  • กัญจนา ศิลปกิจยาน

คำสำคัญ:

ไทยแลนด์ 4.0, การพัฒนาเด็กปฐมวัย, การคิดวิเคราะห์, การคิดสร้างสรรค์, การคิดรับผิดชอบ, การคิดผลิตภาพ, สะเต็มศึกษา

บทคัดย่อ

          ในการพัฒนาเด็กปฐมวัยในยุค 4.0 เด็กปฐมวัยควรได้รับการพัฒนาให้สามารถสร้างผลงานหรือนวัตกรรมได้ โดยพัฒนาเด็กให้มีคุณลักษณะ 4 ประการ คือ การคิดวิเคราะห์ การคิดสร้างสรรค์ การคิดผลิตภาพและการคิดรับผิดชอบ ในการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีคุณลักษณะดังกล่าว ควรพัฒนาให้เด็กสร้างความรู้ด้วยตนเองจากการลงมือกระทำ ได้ปฏิบัติจริง และนำความรู้ไปสร้างสรรค์เป็นชิ้นงาน ซึ่งการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาเป็นวิธีการหนึ่งที่จะช่วยพัฒนาเด็กปฐมวัย อย่างไรก็ตามการพัฒนาเด็กปฐมวัยจะต้องสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ซึ่งเด็กปฐมวัยทุกคนจะต้องได้รับการพัฒนาอย่างเป็นองค์รวม โดยพัฒนาอย่างรอบด้านอย่างสมดุล

Author Biographies

กันตวรรณ มีสมสาร

แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช

กัญจนา ศิลปกิจยาน

แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช

References

จุฬารัตน์ ธรรมประทีป และชนิพรรณ จาติเสถียร. (2560). การพัฒนาวิชาชีพแบบร่วมมือเรื่อง STEM สำหรับครูปฐมวัย. วารสารศึกษาศาสตร์ มสธ. 10(2): 35-53.
ชนิพรรณ จาติเสถียร, กันตวรรณ มีสมสาร และอภิรดี ไชยกาล. (2560). การพัฒนาเด็กปฐมวัยอย่างเป็นองค์รวม. กรุงเทพฯ: พลัสเพรส.
ชลาทิป สมาหิโต. (2558). การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษาในระดับการศึกษาปฐมวัย. วารสารศึกษาศาสตร์ปริทัศน์. 30(2): 102-111.
ทิศนา แขมมณี. (2560). ศาสตร์การสอน องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 21). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
โพยม จันทร์น้อย. (2560). การศึกษา 4.0. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: http://www.manager.co.th/QOL/viewnews.aspx?NewsID=9600000025195. (2560, 12 มีนาคม).
ไพฑูรย์ สินลารัตน์ และคณะ. (2560). การศึกษาไทย 4.0 เป็นยิ่งกว่าการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2559). การศึกษาไทย 4.0: ปรัชญาการศึกษาเชิงสร้างสรรค์และผลิตภาพ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
รัฎฎิกา ตั้งพุทธิพงศ์. (2559). การวิเคราะห์กระบวนการขับเคลื่อนนโยบายสะเต็มศึกษาจากระดับชาติเข้าสู่ห้องเรียน. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิธีวิทยาการวิจัยการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศศิลักษณ์ ขยันกิจ. (ม.ป.ป.). ปฐมวัย: รากฐานสำคัญของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: http://www.qlf.or.th/Mobile/Details?contentld=1009. (2560, 18 ธันวาคม).
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2551) คู่มือกรอบมาตรฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ปฐมวัย ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546. กรุงเทพฯ: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2553). คู่มือกรอบมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์ปฐมวัย ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546. กรุงเทพฯ: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2556). สะเต็มศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ คุรุสภา ลาดพร้าว.
อรุณี หรดาล. (2555). การศึกษาปฐมวัยกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน: วิกฤติหรือโอกาส. วารสารศึกษาศาสตร์ มสธ. 5(2): 54-62.
Healy, J, Mavromaras, K., & Zhu. R. (2011). Consultant report securing Australia’s future STEM: Country comparisons. [Online], Available: http://www.acola.org.au/PDF/SAF02Consultants/Consultant%20Report.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

30-04-2018