พระพุทธศาสนากับการเมืองในสังคมไทย
คำสำคัญ:
พุทธศาสนา, การเมืองบทคัดย่อ
การกำเนิดพุทธะนำมาซึ่งพุทธศาสนาอันเป็นกลจักรวงล้อแห่งธรรมขับเคลื่อนสรรพสิ่ง ในหลากหลายมิติ ประเทศไทยถือว่าเป็นประเทศที่นับถือพระพุทธศาสนาเป็นส่วนมากในอัตราเฉลี่ย 94.6% ของคนไทยทั้งประเทศ ประการสำคัญของการนับถือศาสนาพุทธนั้นนำมาซึ่งการหลอมรวมจิตใจการยึดถือปฏิบัติตามหลักแห่งธรรมของพระบรมศาสดาของคนไทยทั้งประเทศ ด้วยความสำคัญเกี่ยวเนื่องและถูกฝังรากลึกมาอย่างยาวนาน จึงมีความสำคัญอย่างมากในหลากหลายประเด็น เช่น บทบาทเชิงพุทธที่เกี่ยวกับ “ธรรม” บทบาทเชิงพุทธที่เกี่ยวกับ “พระสงฆ์” มีส่วนเกี่ยวข้องกับ การสร้างฐานอำนาจทางการเมืองให้แก่ประชาชน ซึ่งบางครั้งพระสงฆ์จะปฏิเสธการเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองเพราะถือว่าเป็นเรื่องนอกเหนือพระธรรมวินัย แต่ด้วยการเมืองเป็นเรื่องของทุกคน ในระบอบประชาธิปไตย พระสงฆ์ยังถือว่าอยู่ในฐานะที่เป็นพลเมืองตามกฎหมายเพียงแต่ไม่มีสิทธิเลือกตั้งเท่านั้นเอง
References
กีรวุฒิ กิติยาดิศัย. (2556). สิทธิเสรีภาพของพระภิกษุสงฆ์. ใน รายงานการฝึกอบรมหลักสูตร หลักนิติธรรมเพื่อประชาธิปไตย: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ.
เกษฎา ผาทอง. (2559). ยุทธศาสตร์การพัฒนาประชาธิปไตยและกระบวนการประชาสังคมไทยภายใต้กระบวนทัศน์หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา. วารสารธรรมทรรศน์. 16(2): 263-264.
ชลทิศ ธีระฐิติ. (2551). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ทวีศักดิ์ ตั้งปฐมวงศ์. (2555). การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475: การปฏิวัติที่ถูกนิยามใหม่ The Changing of the ruling in 1932 : The new definition revolution. วารสารมหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 31(3): 39.
วรรณไชย มะยงค์. (2558). การบริหารกิจการคณะสงฆ์โดยหลักทศพิธราชธรรมในจังหวัดชุมพร. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์และศิลปะ. 8(1): 352.
วิศิษฐ ทวีเศรษฐ, สุขุม นวลสกุล และวิทยา จิตนุพงศ์. (2554). การเมืองและการปกครองไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคําแหง.
สมปอง รักษาธรรม. (2552). ความตื่นตัวทางการเมืองของเยาวชนในพื้นที่ภาคใต้กับการพัฒนาวัฒนธรรม ทางการเมืองแบบประชาธิปไตยในประเทศไทยช่วงปี พ.ศ. 2549-2552: ศึกษากรณีเปรียบเทียบนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ๕ จังหวัดภาคใต้. วิทยาลัยสื่อสารการเมือง: มหาวิทยาลัยเกริก.
สัญญา เคณาภูมิ. (2558). วิถีประชาธิปไตยของพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์. 5(2): 195-196.
สัญญา เคณาภูมิ. (2560). อิทธิพลของอรรถประโยชน์ทางการเมืองที่ส่งผลต่อการตัดสินใจทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของประชาชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง ประเทศไทย. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร. 5(2): 22.
สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ. (2554). การพัฒนาวัดสู่ความเป็นมาตรฐาน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2555). การสำรวจสภาวะทางสังคมและวัฒนธรรม พ.ศ. 2554. กรุงเทพฯ: คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา.
เอก ตั้งทรัพย์วัฒนา. (2551). คำและความคิดในรัฐศาสตร์ร่วมสมัย เล่ม 2. กรุงเทพฯ: วี. พริ้นท์.
Bertrand, D. J. (1991). Defining and Measuring Political, In Democracy and Human Rights in Developing Countries. London: Lynne Rienner.
Copelend, L. & Lawrence, L. (Eds.). (1985). The World’s Great Speeches. (2nd ed.) New York: Dover.
Charnow, A. B. & Vallasi, G. A. (1993). “Democracy” in the Illustrated” The Coliumbia Encyclopedia. (5th ed.). Edited by Babara A. Charnow, A. and George Vallasi. Coliumbia: Coliumbia University.
Easton, D. (1960). The Political System. New York: Alfred A. Knoff.
Jerrold, S. (1967). The new face of Buddha: Buddhism and Political power in Southeast Asia. London: Victor Gollancz LTD.
Lasswell, D. H. & Kaplan, A. (1970). Power and Society. New Haven: Yale University.
Neumann, S. (1995). Modern Political Parties. University of Chicago Press (December 1955).
Ranny, A. (1972). Essay on the Behavioral Study of Politics. Urbana: University of Illinois Press.
Wolin, S. (1960). Politics and vision: continuity and innovation in western political thought. New Jersey: Princeton.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ เป็นความคิดเห็นของผู้นิพนธ์แต่ละท่าน มิใช่เป็นทัศนะและมิใช่ความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการจัดทำวารสาร และ
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์