กลยุทธ์ธุรกิจค้าปลีกไทยเพื่อการแข่งขันในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

ผู้แต่ง

  • อังคาร คะชาวังศรี
  • สุบัน บัวขาว
  • อรรถพร พฤทธิพงษ์

คำสำคัญ:

ธุรกิจค้าปลีกไทย, อาเซียน

บทคัดย่อ

           การกำหนดกลยุทธ์ธุรกิจค้าปลีกไทยเพื่อการรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนนั้นผู้ประกอบธุรกิจจะต้องกำหนดกลยุทธ์ในการบริหารธุรกิจค้าปลีก 3 ระดับ ได้แก่ กลยุทธ์ระดับองค์กร ซึ่งเป็นการใช้กลยุทธ์ที่มุ่งเน้นการเจริญเติบโต โดยการขยายตลาดของธุรกิจไปยังประเทศ ต่าง ๆ ในภูมิภาคอาเซียน กลยุทธ์หน่วยธุรกิจ ควรให้ความสำคัญกับการประกอบธุรกิจค้าปลีก ในบริเวณแถบชายแดน และกลยุทธ์ระดับปฏิบัติการหรือกลยุทธ์ระดับหน้าที่ควรมุ่งพัฒนาระบบงานเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันให้เหนือกว่าคู่แข่งที่มาจากประเทศในภูมิภาคอาเซียนควบคู่ไปกับ การพัฒนาบุคลากรซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญยิ่งของการแข่งขันในธุรกิจ และเน้นการใช้กลยุทธ์การกระจายสินค้าโดยการขยายสาขาของธุรกิจค้าปลีกเข้าไปในจุดยุทธศาสตร์ที่อยู่ในภูมิภาคอาเซียน ร่วมกับ การจัดกิจกรรมการตลาดเชิงลึกที่มุ่งกระตุ้นให้ผู้บริโภคในภูมิภาคอาเซียน มีการจับจ่ายต่อครั้ง และ มีการซื้อซ้ำเพิ่มขึ้น และมุ่งเน้นการใช้กลยุทธ์การสร้างความเชื่อมั่นให้กับลูกค้า

Author Biographies

อังคาร คะชาวังศรี

สาขาวิชาการจัดการธุรกิจค้าปลีก คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

สุบัน บัวขาว

สาขาวิชาการจัดการธุรกิจค้าปลีก คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

อรรถพร พฤทธิพงษ์

สาขาวิชาการจัดการธุรกิจค้าปลีก คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

References

กรุงเทพธุรกิจออนไลน์. (2558). โอกาสและอนาคตค้าปลีกไทยภายใต้ AEC. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: http://www.tpa.or.th/tpanews/upload/mag_content/90/ContentFile1828.pdf(2560, 15 ตุลาคม).
การดี เลียวไพโรจน์. (ม.ป.ป.). ไลฟ์สไตล์ รสนิยม และวัฒนธรรมของคนประเทศต่าง ๆ ในอาเซียน. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก http://www.bloggang.com/mainblog.php?id= rngja&month=28-09-2013&group=9&gblog=12. (2560, 3 ตุลาคม).
เกริกยศ ชลายชเดชะ. (2546). แนวคิดการบริหารเชิงกลยุทธ์ในการวางแผนกลยุทธ์และการพัฒนาคุณภาพบริการของโรงพยาบาล. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ณัฐพันธ์ เขจรนันทน์. (2552). การจัดการเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
ทรงวัฒน์ เฉลิมวณิชย์กุล. (2559). การศึกษากลยุทธ์ระดับองค์กรและกลยุทธ์การแข่งขันของผู้ประกอบการอสังหาริมทรัพย์รายใหม่. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ธัญญรัศม์ กิ่งไพบูลย์. (2554). กลยุทธ์การตลาด และการจัดการเชิงกลยุทธ์ในธุรกิจค้าปลีก กรณีศึกษาบริษัททิพย์ พัฒน อาร์เขต จำกัด ศูนย์การค้าพันธุ์ทิพย์ พลาซ่า สาขาประตูน้ำ. ภาคนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.
ประเสริฐ ศิริเสรีวรรณ. (2558). กลยุทธ์และการวางแผนในธุรกิจค้าปลีกและค้าส่ง. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก http://gs.utcc.ac.th/mk/0%2057%20Retail/Class/CookBook%20-%20Retail%20&%20Wholesale%20Stgy%20-%2020May58.pdf. (2560, 15 ตุลาคม).
พักตร์ผจง วัฒนสินธุ์ และพสุ เตชะรินทร์. (2545). การจัดการเชิงกลยุทธ์และนโยบายธุรกิจ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พิษณุ อิ่มวิญญาณ. (2558). การจัดการร้านค้าปลีกที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าของผู้บริโภค: การศึกษาร้านสะดวกซื้อในกรุงเทพมหานคร. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. 10(3): 349-359.
วราภรณ์ จุลปานนท์. (2555). พัฒนาการของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับผลกระทบต่อไทย. รัฐสภาสาร. 60(12): 9-39.
วิไลวรรณ ศรีจันทร์อโนทัย. (2554). การบริหารการค้าปลีก. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก www.atc.ac.th/thai/elearning/MK/วิชาการบริหารการค้าปลีก.pps. (2560, 15 ตุลาคม).
ศักดิ์ดา ศิริภัทรโสภณ. (2559). ศักยภาพในการแข่งขันและความพร้อมของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมของไทยในการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. วารสารสมาคมนักวิจัย. 21: 9-33.
สดุดี วงศ์เกียรติขจร. (2558). การเปิดเสรีภาคธุรกิจค้าส่งและค้าปลีกของอาเซียน. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา . [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก http://www.itd.or.th. (2560, 10 ตุลาคม).
สมชาย ภคภาสน์วิวัฒน์. (2547). การบริหารเชิงกลยุทธ์: คัมภีร์สู่ความเป็นเลิศในการบริหารจัดการ. กรุงเทพฯ: อัมรินทร์.
สมยศ นาวีการ. (2544). การบริหารเพื่อความเป็นเลิศ. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: บรรณกิจ.
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2559). รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก http://www.mots.go.th/ewt_dl_link.php?nid=8265. (2560, 10 ตุลาคม).
อนิวัส แก้วจำนง. (2551). การจัดการเชิงกลยุทธ์. สงขลา: นำสินโฆษณา.
อังคณา ใหม่วงษ์. (2554). การกำหนดกลยุทธ์การตลาดของธุรกิจค้าปลีกขนาดเล็ก - กรณีศึกษาร้านสะดวกซื้อ 7-Eleven บริษัท ซีพีออลล์ จำกัด (มหาชน). ภาคนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.
Akpinar, M. (2009). Internationalization vs. Diversification: A Study on the Drivers of Growth Strategies. Journal of Global Business Issues. 3(2): 1-6.
Caves, R, & Ghemawat, P. (1992). Identifying Mobility Barriers. Strategic Management Journal. 13: 1-12.
Levy, M. & Weitz, B. ( 2007). Retailing Management Newsletter for Instructors. Boston, MA: McGraw-Hill/Irwin.
Machleit, K., Kellaris, J. & Eroglu, S. (1994). Htunan and spati!l dimensions of crowding perceptions in retail environments: a note on their measurement and effects on shoppers’ satisfaction". Markeling Letters. 5: 183-94.
Pearce II, J. A., & Robbins, D. K. (1994). Retrenchment Remains the Foundation of Business Turnaround. Strategic Management Journal. 12: 407-471.
Porter, M. E. & Collins, J. C. (1996). HBR’s 10 Must Reads: On Strategy. Harvard Business Review.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

27-09-2018