ทักษะการปรึกษาเชิงจิตวิทยาเบื้องต้นสำหรับครูประจำชั้น

ผู้แต่ง

  • วรางคณา โสมะนันทน์

คำสำคัญ:

การปรึกษาเชิงจิตวิทยา, ทักษะการปรึกษาเชิงจิตวิทยา, ครูประจำชั้น

บทคัดย่อ

          บทบาทที่สำคัญอย่างหนึ่งของครูประจำชั้นตามที่กระทรวงศึกษาธิการระบุไว้ในคู่มือ ครูประจำชั้น คือ การให้คำปรึกษานักเรียน เพื่อช่วยให้นักเรียนสามารถคิด ตัดสินใจ และแก้ปัญหาได้ด้วยตนเองได้อย่างรอบคอบและเหมาะสม ครูประจำชั้นจึงต้องมีทักษะในการให้การปรึกษาเชิงจิตวิทยา เพื่อให้ครูสามารถให้คำแนะนำช่วยเหลือผู้เรียนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น การปรึกษาเชิงจิตวิทยา จึงเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นสำหรับการช่วยให้นักเรียนสามารถแก้ปัญหา รวมทั้งดำเนินชีวิตอย่างมีความสุข ตลอดจนพัฒนาตนเองได้อย่างเต็มศักยภาพ เนื่องจากการปรึกษาเชิงจิตวิทยาเป็นส่วนหนึ่งของการช่วยเหลือผู้เรียนในการให้บริการแนะแนว และระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน อย่างไรก็ตาม ประสิทธิภาพของการให้บริการปรึกษาเชิงจิตวิทยา ส่วนหนึ่งขึ้นอยู่กับทักษะการให้การปรึกษา ซึ่งต้องได้รับการฝึกปฏิบัติอย่างถูกต้อง เพื่อให้การปรึกษาเชิงจิตวิทยาเกิดประสิทธิภาพ ครูประจำชั้นจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีความรู้เกี่ยวกับทักษะการให้การปรึกษา เพื่อทำให้การปรึกษามีประสิทธิภาพ ส่งผลให้นักเรียนสามารถแก้ปัญหาและพัฒนาตนเองได้อย่างเต็มศักยภาพ

Author Biography

วรางคณา โสมะนันทน์

ภาควิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

References

กรรณิการ์ นลราชสุวัจน์. (2551). ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการให้การปรึกษา (หน่วยที่ 9-15). (พิมพ์ครั้งที่ 3). นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
จีน แบรี่. (2549). การให้การปรึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: เจริญวิทย์การพิมพ์.
ดวงกมล ทองอยู่ (2557). แนวทางการพัฒนาการเห็นคุณค่าในตนเองของวัยรุ่นตามทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตน. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์. 4(2): 179-190.
นพดล กรรณิกา. (2551). เอแบคโพลล์: โครงการเฝ้าระวังรักษาคุณภาพเด็กและเยาวชนไทยและทัศนคติต่อการปกครองแบบประชาธิปไตย. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: http://www.beta.ryt9.com/s/abcp/362889. (2558, 23 กรกฎาคม).
ปรีชา คัมภีรปกรณ์. (2552). เอกสารการสอนชุดวิชาเทคนิคการปรึกษาเบื้องต้น (หน่วยที่ 7-15). (พิมพ์ครั้งที่ 6). นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
พงษ์พันธ์ พงษ์โสภา และวิไลลักษณ์ พงษ์โสภา. (2556). ทฤษฎีและเทคนิคการให้บริการปรึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พงษ์พันธ์ พงษ์โสภา. (2544). ทฤษฎีและเทคนิคการให้คำปรึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์พัฒนาศึกษา.
มูลนิธิดรุณาทร. (2558). สถานการณ์เยาวชนไทย. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: http://www.compassionth.com/ (2558, 23 กรกฎาคม)
วัชรี ทรัพย์มี. (2556ก). ทฤษฎีให้บริการปรึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วัชรี ทรัพย์มี. (2556ข). กระบวนการปรึกษา: ขั้นตอน สายสัมพันธ์ ทักษะ = The counseling process: stages, rapport, skills. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วัชรี ธุวธรรม. (2552). เอกสารการสอนชุดวิชาเทคนิคการปรึกษาเบื้องต้น (หน่วยที่ 7-15). (พิมพ์ครั้งที่ 6). นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ศิริบูรณ์ สายโกสุม. (2552). เอกสารการสอนชุดวิชาเทคนิคการปรึกษาเบื้องต้น (หน่วยที่ 7-15). (พิมพ์ครั้งที่ 6). นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สมพงษ์ จิตระดับ และอัญญมณี บุญซื่อ. (2551). หลักสูตรสิทธิเด็กและการวางแผนท้องถิ่นเพื่อเด็กและเยาวชน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมการศึกษาเพื่อเด็กและผู้มีความต้องการพิเศษ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมร ทองดี. (2552). เอกสารการสอนชุดวิชาเทคนิคการปรึกษาเบื้องต้น (หน่วยที่ 7-15). (พิมพ์ครั้งที่ 6). นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สมาคมแนะแนวแห่งประเทศไทย. (2557). ระบบการแนะแนวในโรงเรียน. กรุงเทพฯ: สมาคมแนะแนวแห่งประเทศไทย.
สำนักงานมาตรฐานการศึกษา. (2552). ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน หลักการ แนวคิด และทิศทางในการดำเนินงาน. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
สุรินทร์ สุทธิธาทิพย์. (2545). ทักษะการปรึกษา. กรุงเทพฯ: ภาควิชาแนะแนวและจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
อาภา จันทรสกุล. (2544). การปรึกษาแบบจุลภาค. กรุงเทพฯ: ภาควิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
อาภา จันทรสกุล. (2545). ทฤษฎีและเทคนิคการปรึกษาในสถาบันการศึกษา. กรุงเทพฯ: ภาควิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
Brammer, L. M. & MacDonald, G. (2003). The helping relationship: process and skills. (8th ed). Boston, MA : Allyn and Bacon.
Corey, G. (2013). Theory and practice of counseling and psychotherapy. (9th ed.). Pacific Grove, Calif: Brooks/Cole.
Jacobs, Ed E., Masson, R. L. & Harvill, R. L. (2009). Group counseling: Strategies and Skills. Australia: Thomson/Brooks/Cole.
Posthuma, B. W. (1996). Small Groups in Counseling and Therapy. (2nd ed.). Boston: Allyn and Bacon.
Reinkraut R., Motulsky S. L., & Ritchie J. (2009). Developing a Competent Practitioner: Use of Self in Counseling Psychology Training. Asian Journal of Counseling, 16 (1): 7-29.
Snyder, C. R., Micheal, S. T., & Cheavens, J. S. (1999). Hope as a psychotherapeutic foundation of common factors, placebo, and expectancies. In M. A. Hubble, B. L. Duncan, & S. D. Miller (Eds.). The heart and soul of change: What works in therapy. Washington, DC: American Psychological Association.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

31-08-2018