การปฏิรูปรัฐธรรมนูญของไทยให้เป็นประชาธิปไตยหรือเพื่อสืบทอดอำนาจเผด็จการ 4.0

ผู้แต่ง

  • นิพนธ์ ฐานะพันธุ์ หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น

คำสำคัญ:

หลักการประชาธิปไตยรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2560

บทคัดย่อ

           รัฐธรรมนูญปี 2560 สะท้อนพลังอำนาจของประชาชนส่วนใหญ่โดยระบอบการปกครองประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์อยู่ใต้รัฐธรรมนูญ ซึ่งสำคัญยิ่ง ดังปรากฏอยู่ในมาตรา 1-260 ของกฎหมายรัฐธรรมนูญฉบับนี้ อย่างไรก็ตามในบทเฉพาะกาลมีกำหนดการเลื่อนไหลอำนาจให้คณะรักษาความสงบแห่งชาติสืบทอดอำนาจโดยออกแบบให้นายกรัฐมนตรีปัจจุบันมีแนวโน้มที่จะมาจากคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
          ทั้งนี้ก็เพราะว่ากระบวนการถ่ายโยงอำนาจของเผด็จการยุค 4.0 ผู้ร่างทั้งหลายเป็นหัวหน้าและเกี่ยวข้องกับเผด็จการทั้งสิ้น น่าจะเป็นความจริงว่าเขาไม่ได้ร่างเพื่อประชาธิปไตยของประชาชน แต่ร่างเพื่อเปิดทางให้รัฐบาลทหารแล้วจะนำมาซึ่งความขัดแย้งวุ่นวายต่อประเทศชาติ

References

จรูญ สุภาพ. (2522). หลักรัฐศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพาณิช.

บรรพต วีระสัย. (2526). จุลสารทางการเมืองการบริหารฉบับประชาธิปไตยและการเลือกตั้ง. กรุงเทพฯ: แสงจันทร์การพิมพ์.

พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ และประเสริฐ ทรัพย์สุนทร. (2532). ยุทธศาสตร์การต่อสู้เพื่อเอาชนะคอมมิวนิสต์. กรุงเทพฯ: ไม่ปรากฏสำนักพิมพ์.

วิทยา ศรีสมานุวัตร. (2560). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560. กรุงเทพฯ: เดือนตุลา.

สุขุม นวลสกุล และคณะ. (2530). การเมืองและการปกครองไทย. กรุงเทพฯ: แสงจันทร์การพิมพ์.

พงศ์พิพัฒน์ บัญชานนท์. (2517). รายงาน: รัฐธรรมนูญ 2560 4 เมษายน 2517.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560/หมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: https//th.wikisource.org/wiki/

Austin Ranney. (1966). The Governing of Men. New York: Holt, Rinehart and Winston.

Mark Van Vugt Ph.D. 7Steps to Becoming a Dictator. [Online], Available: https.//www.psychology.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

27-12-2018