ธรรมเพื่อชีวิตที่ดีงาม: แบบอย่างจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9

ผู้แต่ง

  • เจด็จ คชฤทธิ์ นักวิชาการอิสระ
  • เจนจิรา เจนจิตรวาณิช วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล
  • หทัยรัตน์ อ่วมน้อย สาขาวิชาจิตวิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี
  • ฤทัย สำเนียงเสนาะ สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารนานาชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี

คำสำคัญ:

ธรรม, ชีวิตที่ดีงาม, พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9

บทคัดย่อ

          พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ ที่ได้รับการยกย่องสรรเสริญ มีพระเกียรติคุณขจรไกล ด้วยว่า พระองค์ทรงมีพระราชจริยวัตร พระราชอัชฌาสัย และพระปรีชาสามารถโดดเด่นเป็นที่ประจักษ์ โดยเฉพาะพระปรีชาสามารถ ด้านเกษตรกรรม พระองค์ทรงสนพระราชหฤทัยในวิชาการความรู้ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ โครงการหลวงจำนวนมากรวมทั้งโครงการตามแนวพระราชดำริมักเกี่ยวพันกับการพัฒนาด้านการเกษตร และการพัฒนาคน พระองค์ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ผู้ทรงธรรมและปกครองอาณาจักรของ พระองค์ด้วยธรรม ทรงวางพระองค์เป็นผู้นำด้วยการใช้หลักธรรมในการดำเนินชีวิตและเป็นเครื่องมือในการปกครองอาณาประชาราษฎร์ให้อยู่เย็นเป็นสุข โดยไม่ใช้ศาสตราวุธ ทั้งยังปฏิบัติพระองค์ ตามหลักธรรมอย่างจริงจัง เที่ยงตรง เป็นแบบอย่างชีวิตที่ดีงาม แก่พสกนิกรชาวไทยเสมอมา สำหรับหลักธรรมสำคัญที่ปรากฏเด่นชัด โดยพิจารณาจากพระราชจริยวัตร พระราชดำริ และพระราชกรณียกิจ ได้แก่ ‘ทศพิธราชธรรม’ และ ‘ราชสังคหวัตถุธรรม’

References

กรรณิกา กรานเลิศ. (2559). ธรรมราชา: เครื่องมือสร้างการยอมรับจากประชาชนในการสร้าง โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในประเทศไทย. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 24(46), 289-310.

กระทรวงวัฒนธรรม. (2548). พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานแก่ประชาชนชาวไทย ปี 2493-2547. กรุงเทพฯ: กระทรวงวัฒนธรรม.

จักรกฤษณ์ ไชยพิเดช. (2559). ราชสกุลมหิดล. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: https://haiku.maggang.com/หนังสือ-quotราชสกุลมหิดล. (2559, 20 ธันวาคม).

เจด็จ คชฤทธิ์. (2556). ความยากจนในวรรณกรรมเพลงลูกทุ่ง: มุมมองและข้อสังเกตบางประการ. วไลยอลกรณ์ปริทัศน์. 3(2), 187-201

ดรุณศักดิ์ ตติยะลาภะ. (ม.ป.ป). การพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนบนหลักการ “เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา”. 84 ปี วไลยอลงกรณ์. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์.

นิรนาม. (2559, ตุลาคม 15). ทรงครองราชย์ด้วยทศพิธราชธรรม. สิ่งพิมพ์พิเศษโพสต์ทูเดย์, หน้าพิเศษ 2.

นิรนาม. (2559, ตุลาคม 15). พระอัจฉริยภาพในสายตาชาวโลก. เดลินิวส์ ฉบับพิเศษ, หน้า16.

ปรีชา ช้างขวัญยืน. (2542). ธรรมรัฐ-ธรรมราชา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2548). สังคหวัตถุของผู้ครองแผ่นดิน. สืบค้นเมื่อ 25 พฤศจิกายน 2559, จากพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม http://www.84000.org/tipitaka/dic/ditem.php?i=187

พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระไพศาล วิสาโล. (2542). พระธรรมปิฎกกับอนาคตของพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.

สมเจตน์ ผิวทองงาม. (2559). การแนะแนวเพื่อชีวิตที่ดีงามในคำสอนของพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต). วารสารวิชาการ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 24 (46): 173-188.

สราวุธ อิสรานุวรรธน์. (2561). วาดด้วยใจภักดิ์…เบื้องหลังโปสการ์ด “พ่อของแผ่นดิน”. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: http://www.dooddot.com/ptt-do-good-for-king/ (2559, 28 ธันวาคม).

สุพานี สฤษฎ์วานิช. (2558). การสร้างองค์กรให้เป็นเผ่าพันธุ์ที่มีพลัง. Journal of HR Intelligence. 10(1 มกราคม-มิถุนายน), 95-105.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

30-04-2019