การจัดการองค์กรธุรกิจกับปัญญาประดิษฐ์เพื่อความอยู่รอดทางธุรกิจ
คำสำคัญ:
การจัดการองค์กรธุรกิจ, ปัญญาประดิษฐ์บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายการจัดการองค์กรธุรกิจกับปัญญาประดิษฐ์โดยเป็นการศึกษาและวิเคราะห์บนพื้นฐานของแนวคิด ทฤษฎี และการวิจัย ซึ่งความก้าวหน้าของเทคโนโลยีคือสิ่งที่มีผลต่อการจัดการองค์กรธุรกิจในปัจจุบันและอนาคตอย่างมาก ทั้งนี้ ผู้บริหารหรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้องจำเป็นต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับปัญญาประดิษฐ์ในมิติของแนวคิดและผลกระทบจากการใช้ปัญญาประดิษฐ์ขององค์กรธุรกิจ ความสามารถการทำงานของมนุษย์ที่ดีกว่าปัญญาประดิษฐ์ รวมถึง แนวทางการจัดการองค์กรธุรกิจสำหรับการประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์ในการทำงาน เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานและความอยู่รอดทางธุรกิจอย่างเหมาะสมและเป็นระบบ
References
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2559). ถอดรหัสแนวโน้มใหญ่ของโลกปี 2020: โอกาสและการปรับตัวของธุรกิจในอนาคต. วารสารวิทยาการจัดการ. 3(1): 1-26.
โกศล จิตวิรัตน์. (2561). โมเดลการปรับตัวขององค์การธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจากการทำลายล้างของเทคโนโลยีดิจิทัลในศตวรรษที่ 21. วารสารสมาคมนักวิจัย. 23(2): 74-88.
คฑาวุฒิ สังฆมาศ, เกรียงไกร โพธิ์มณี และปริยาภร เอี่ยมสำลี. (2560). นวัตกรรมสร้างสรรค์ทางธุรกิจเพื่อการส่งออกกับนโยบายไทยแลนด์ 4.0. วารสารบัณฑิตศาส์น มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 15(2): 124-132.
เจริญศักดิ์ แซ่จึง. (2562). การวิเคราะห์ข้อมูลทางธุรกิจในยุคของปัญญาประดิษฐ์. วารสารธุรกิจปริทัศน์. 11(2): 157-177.
ชัชพล ทรงสุนทรวงศ์. (2559). นวัตกรรมการบริการ :กลยุทธ์ที่สร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันขององค์การธุรกิจบริการ. วารสารการจัดการสมัยใหม่. 14(2): 13-24.
ทศพร มะหะหมัด และมนัส สุทธิการ. (2563). ปัญญาประดิษฐ์การจัดการทรัพยากรบุคคลสมัยใหม่ในองค์กร. วารสาร RMUTT Global Business and Economics Review. 5(1): 75-89.
นรุตม์ โตโพธิ์ไทย. (2558). แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของธุรกิจที่สำคัญทั่วโลกและไทยในอนาคต. วารสารวิทยาการจัดการ. 2(2): 124-134.
พอตา วุฒิพรชัย, เพ็ญศรี บางบอน และรุจิภา สินสมบูรณ์ทอง. (2560). ระบบปัญญาประดิษฐ์กับการปฏิวัติอุตสาหกรรม ครั้งที่ 4. วารสารวิชาการสถาบันวิทยาการจัดการแห่งแปซิฟิค. 3(2): 213-218.
ภวัต ธนสารแสนล้าน. (2561). รูปแบบการจัดการองค์กรทางธุรกิจของไทยสู่ความเป็นเลิศ. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยปทุมธานี. 10(2): 192-197.
รัตติกาล โสวะภาส, อโณทัย ดวงดารา, รพรชัย อุทยารักษ์, ทานตะวัน บุญเล็ก และอนันต์ ธรรมชาลัย. (2563). การพัฒนาองค์การให้มีศักยภาพการทำงานสูงในศตวรรษที่ 21. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์. 10(2): 229-239.
วิไล พึ่งผล, ดวงใจ จันทร์ดาแสง และประสพชัย พสุนนท์. (2562). การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารระบบคลังสินค้าเพื่อ สร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมชิ้นส่วนอะไหล่รถจักรยานยนต์ยุคประเทศไทย 4.0 จังหวัดชลบุรี. วารสารดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์. 9(2): 467-485.
วีณา พึงวิวัฒน์นิกุล. (2562). การจัดการทรัพยากรมนุษย์ในบริบทอนาคตแรงงานไทยในยุคเทคโนโลยีดิจิทัล. วารสาร มจร พุทธปัญญาปริทรรศน์. 4(2): 285-298.
ศุภชัย ศรีสุชาติ. (2561). ทิศทางการจ้างงานของประเทศไทยในยุคอุตสาหกรรม 4.0. กรุงเทพฯ:สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สาคร กล้าหาญ และคชา ศัยยกุล. (2563). องค์ประกอบคุณลักษณะการเป็นผู้ประกอบการของกลุ่ม Generation Y. วารสารปัญญาภิวัฒน์. 12(2): 124-134.
เสาวนีย์ สมันต์ตรีพร. (2560). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ในภาคธุรกิจในยุคการเปลี่ยนแปลง. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี. 6(1): 1-16.
อมรรักษ์ สวนชูผล. (2561). การจัดการธุรกิจการบริการผู้สูงอายุ. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์). 13(1): 146-152.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ เป็นความคิดเห็นของผู้นิพนธ์แต่ละท่าน มิใช่เป็นทัศนะและมิใช่ความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการจัดทำวารสาร และ
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์