การออกแบบวิธีวิจัยเพื่อประดิษฐ์และถ่ายทอดทางเดี่ยว
คำสำคัญ:
การออกแบบวิธีวิจัย, ประดิษฐ์ทางเดี่ยว, การถ่ายทอดทางเดี่ยวบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ เสนอการออกแบบวิธีวิจัย เพื่อการประดิษฐ์และถ่ายทอดทางเดี่ยวฆ้องวงใหญ่ เป็นการวิจัยแบบผสมผสานระหว่างการสร้างสรรค์ทางดนตรีและการวิจัย เชิงพัฒนา ความสอดคล้องของเครื่องมือ ประเมินผลการถ่ายทอด โดยมีประเด็นนำดังนี้
การออกแบบการวิจัยเพื่อต่อยอดงานดนตรี
กรอบแนวคิดในการประดิษฐ์ทางเดี่ยว
การกำหนดเป้าหมายและทางเดี่ยว
การออกแบบทางเดี่ยว
การออกแบบและพัฒนาเครื่องมือในการถ่ายทอด
- การออกแบบเครื่องมือ
- ขั้นตอนการสร้างแบบฝึกทักษะ
- การทดลองใช้แบบฝึกทักษะ
- การปรับปรุงและถ่ายทอดทางเดี่ยว
การเสนอผลการพัฒนา
References
สำนักทดสอบทางการศึกษา. (2560). คู่มือการพัฒนาความสามารถในการสร้างเครื่องมือประเมินภาคปฏิบัติ. กลุ่มประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: กลุ่มประเมินคุณภาพการศึกษา.
บุญธรรม ตราโมท. (2545). คำบรรยายวิชาดุริยางคศาสตร์ กรมศิลปากร. กรุงเทพฯ: ชวนพิมพ์.
ปราโมทย์ ด่านประดิษฐ์. (2562). การเรียบเรียงและถ่ายทอดทางเดี่ยวทางฆ้องวงใหญ่ เพลงแป๊ะสามชั้น. กรุงเทพฯ: คณะดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี.
ปราโมทย์ ด่านประดิษฐ์ จุฑาศิริ ยอดวิเศษ และพรรณระพี บุญเปลี่ยน. (2562). การพัฒนาแบบฝึกทักษะทางเดี่ยวฆ้องวงใหญ่เพลงแป๊ะสามชั้น. วารสารศิลปกรรมศาสตร์ วิชาการวิจัย และงานสร้างสรรค์. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. 6(1), 266-291.
Friedrich, L. & Trainin, G. (2016). Paving the Way for New Literacies Integration in Elementary Teacher Education. Creative Education, 7(10), 1456-1474.
Hambleton, R. K., & Rovinelli, R. J. (1986). Assessing the dimensionality of a set of test items. Applied psychological measurement. 10(3), 287-302.
Hintz, M. R. (2000). Geriatric music therapy clinical assessment: Assessment of music skills and related behaviors. Music Therapy Perspectives. 18(1), 31-40.
Zhukov, K. (2009). Effective practicing: A research perspective. Australian Journal of Music Education. Australia: The University of Queensland.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ เป็นความคิดเห็นของผู้นิพนธ์แต่ละท่าน มิใช่เป็นทัศนะและมิใช่ความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการจัดทำวารสาร และ
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์