การบัญชีตามความรับผิดชอบต่อสังคมกับการบัญชีเพื่อสิ่งแวดล้อมของผู้ประกอบการในยุคปัจจุบัน

ผู้แต่ง

  • จริยา รอดจันทร์ คณะบัญชี มหาวิทยาลัยภาคกลาง
  • ไพโรจน์ พรมจีน คณะบัญชี มหาวิทยาลัยภาคกลาง
  • รุ่งอรุณ ดวงจันทร์ คณะบัญชี มหาวิทยาลัยภาคกลาง

คำสำคัญ:

การบัญชีตามความรับผิดชอบต่อสังคม, การบัญชีเพื่อสิ่งแวดล้อม, ผู้ประกอบการ

บทคัดย่อ

การบัญชีตามความรับผิดชอบต่อสังคม เป็นความพยายามอย่างหนึ่งของกิจการที่จะนำเสนอข้อมูลต่อกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย กลุ่มบุคคลเหล่านี้มีสิทธิโดยชอบธรรมที่จะรับรู้ข้อมูลของกิจการตามสมควร แนวคิดของการบัญชีตามความรับผิดชอบต่อสังคม จึงได้พัฒนาให้เกิดการบัญชีและ การรายงานในรูปแบบต่าง ๆ มากขึ้น และการบัญชีเพื่อสิ่งแวดล้อมเป็นการบัญชีที่ให้ความสำคัญกับ การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมเพื่อรายงานเกี่ยวกับต้นทุนและผลประโยชน์อันเกิดจากกิจกรรมขององค์กรที่ส่งผลกระทบต่อชุมชน ทั้งที่เป็นข้อมูลด้านการเงินและข้อมูลที่ไม่เกี่ยวกับการเงิน เนื่องจากผลกระทบของปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นประเด็นสำคัญต่อภาพลักษณ์องค์กรที่จำเป็นอย่างยิ่งต่อการนำมาตรวจสอบและควบคุมอย่างจริงจัง การนำบัญชีเพื่อสิ่งแวดล้อมมาใช้ในธุรกิจ สามารถสื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกทราบถึงต้นทุน และหนี้สินด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อประโยชน์ในการบริหารองค์กร ประกอบกับองค์กรสามารถสะท้อนถึงจิตสำนึก ความรับผิดชอบที่มีต่อสภาพแวดล้อมในสังคม ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลต่อการดำรงอยู่อย่างยั่งยืนขององค์กรต่อไป

References

กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม. (2558). สถานการณ์สิ่งแวดล้อมของประเทศไทย ปี 2558 โดยคนสองวัย. กรุงเทพฯ: ศูนย์สารสนเทศสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.

ขวัญนรี กล้าปราบโจร และคณะ. (2559). การบัญชีสิ่งแวดล้อมเพื่อการบริหารจัดการอย่างยั่งยืนของธุรกิจโรงแรมในจังหวัดกาญจนบุรี. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: https://kukr.lib.ku.ac.th/db/index.php?/BKN/search_detail/result/333432. (2563, 7 มกราคม)

คณะทำงานส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมของบริษัทจดทะเบียน. (2551). เข็มทิศธุรกิจเพื่อสังคม: จากหลักการสู่แนวปฏิบัติ CSR. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: https://www. ryt9.com/s/prg/374588. (2563, 7 มีนาคม)

จีรภัทร คงสังข์. (2551). การประยุทธ์ใช้แนวปฏิบัติการบัญชีสิ่งแวดล้อมขององค์กาสหประชาชาติกับบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์บัญชีมหาบัณฑิต สาขาการบัญชี คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม.

จักรพันธ์ จินดาวงศ์. (2547). แนวการปฏิบัติและแนวโน้มทางการบัญชีการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมของอุตสาหกรรมประเภทที่มีผลกระทบโดยตรงหรือมีนัยสำคัญต่อสิ่งแวดล้อม. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: http://www.thaithesis.org/detail.php?id= 1082547001058. (2563, 8 มีนาคม)

ดวงมณี โกมารทัต. (2548). การบัญชีบริหารสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน. วารสารนักบัญชี. 48(3): 67–93.

ปกรณ์ อุดมธนะสารสกุล. (2561). การปฏิบัติตามแนวคิดความรับผิดชอบต่อสังคม(CSR) ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม(SMEs) ในประเทศไทย. FEU Academic Review. 12(2): 9-9.

นงลักษณ์ จิ๋วจู และทิพย์วรรณ ศิบุญนันท์. (2557). การศึกษาผลกระทบและการจัดทำบัญชีสิ่งแวดล้อมเพื่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนกรณีศึกษา: ธุรกิจโรงสีข้าวในจังหวัดกำแพงเพชร. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: https://webcache.googleusercontent.com/search?q=cache:ISkpB3_ZpWoJ:https://maesot.kpru. ac.th/. (2563, 7 มกราคม)

นิพนธ์ เห็นโชคชัยชนะ และศิลปพร ศรีจั่นเพชร. (2559). การควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน. กรุงเทพฯ: ที พี เอ็น เพรส.

วโรทัย โกศลพิศิษฐ์กุล. (2550). หนี้สินของเกษตรกรในชนบทไทย. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: www.km.nida.ac.th/home/images/pdf/7-1.pdf. (2563, 7 มีนาคม)

วิเชษฐ์ โรจนสุกาญจน และศิลปพร ศรีจั่นเพชร. (2557). การบัญชีตามความรับผิดชอบต่อสังคม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ศิลปพร ศรีจั่นเพชร. (2553). การบัญชีตามความรับผิดชอบต่อสังคม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ. (2560). ทำลายล้างธุรกิจ. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: http://www.hmmagonline.com/2017/01/04/internet-thingh-iot-ในปี 2017. (2563, 1 มิถุนายน)

สว่างจิต แซ่ผ่าน. (2557). การประยุกต์ใช้การบัญชีเพื่อสิ่งแวดล้อมของบริษัทที่ได้รับ ISO14001 ในนิคมอุตสาหกรรมโรจนะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/bitstream/handle/123456789/2686/RMUTT-147726.pdf?sequence=1. (2563, 7 มกราคม)

สุภัทรษร ทวีจันทร์. (2556). การบูรณาการบัญชีครัวเรือนเพื่อเสริมสร้างภูมิปัญญาทางบัญชีตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กรณีศึกษาชุมชนบ้านกลาง ตำบลขะยูง อำเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ. วารสารบัณฑิตศึกษา. 10(48): 7-16.

อิสรีย์ โชว์วิวัฒนา. (2557). บทบาทนักบัญชี: การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม. วารสารกรมบัญชีกลาง. 51(3): 47-51.

Bilson, J. (2017). History of Corporate Social Responsibility Trace the Roots Between Corporate citizenship and Economics. [Online], Available: http://social-corporate-responsibility suite 101.com/article.cfm/history-of+-corporate-social-responsibility. (2019, 20 November)

Carroll, A. B. (1983). Corporate social responsibility: Will industry respond to cut-backs in social program funding?. [Online], Available: https://www.researchgate.net/publication/331413180_CSR_Will_Industry_Respond_to_Cutbacks_in_Social_Program_Funding. (2019, 20 November)

Henriques, A. (2003). Ten Things You Always Wanted to Know About CSR (But Were Afraid toAsk); Part One: A Brief History of Corporate Social Responsibility (CSR). [Online], Available: https://www.scribd.com/document/60066766/BriefHistoryCSR-PartOne-Adrian. (2020, 7 January)

KimioUno. (1998). Environmental Accounting in Theory and Practice. [Online], Available: https://www.springer.com/gp/book/9780792345596. (2019, 20 November)

Matten, D. & Crane, A. (2005). Corporate citizenship: Toward an extended The oretical conceptualization. Academy of management Review. 33(2): 404-424.

The Office of the Securities and Exchange Commission. (2017). Corporate social responsibility guidelines. [Online], Available: https://www.sec.or.th/EN/Pages/Home.aspx. (2019, 20 November)

Meehan, J. Meehan K. & Richards, A. (2006). Corporate social responsibility: The e3C-SR model. International Journal of Social Economics. 33(5/6): 386-398.

Waddock, S. (2014). Parallel universes: Companies, academics and the progress of corporate citizenship. Business and Society Review. 109(1): 5-42.

World Business Council for Sustainable Development: WBCSD. (2017). Sustainable Development Goals. [Online], Available: https://www.wbcsd.org/ (2019, 20 November).

Downloads

เผยแพร่แล้ว

30-04-2021