การพัฒนาสมรรถนะบุคลากร ในการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ

ผู้แต่ง

  • สิริวดี ชูเชิด คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต

คำสำคัญ:

การพัฒนาสมรรถนะ, สมรรถนะบุคลากร, ประสิทธิภาพ

บทคัดย่อ

บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรภายในองค์การ และแนวทางการพัฒนาประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงาน เนื่องจากในปัจจุบัน มีการแข่งขันค่อนข้างสูงและมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ทำให้บุคลากร ผู้บริหาร หรือองค์การต่าง ๆ ต้องเผชิญกับความผันแปรที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา ส่งผลให้องค์การต้องมีการปรับปรุงและพัฒนาตนเอง อยู่ตลอดเวลาเพื่อความอยู่รอดและสามารถแข่งขันกับคู่แข่งขันได้ในยุคที่มีการแข่งขันอย่างรุนแรง จึงทำให้องค์การต่าง ๆ มีการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งองค์การจะต้องมีการนำเอากิจกรรมต่าง ๆ เข้ามาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาสมรรถนะด้านต่าง ๆ เช่น การฝึกอบรม การสอนงาน การเปลี่ยนงาน หรือแม้กระทั่งการให้บุคลากรไปศึกษาต่อทั้งในประเทศหรือต่างประเทศ ซึ่งจะส่งผลให้บุคลากรภายในองค์การสามารถปฏิบัติงานได้ตามที่องค์การกำหนดและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น สามารถบรรลุตามเป้าหมายของตนเองและขององค์การได้ นอกจากนั้นยังสามารถนำสมรรถนะไปประยุกต์ใช้การปฏิบัติงานด้านต่าง ๆ เช่น สามารถนำสมรรถนะไปใช้ ในด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์ และสามารถนำสมรรถนะไปใช้ในด้านการฝึกอบรม

References

กันตยา เพิ่มผล. (2552). การพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงาน. กรุงเทพฯ: บุญศิริการพิมพ์.

จิรัฐ ชวนชม. (2561). การพัฒนาสมรรถนะ. กรุงเทพฯ: ศูนย์บริการสื่อและสิ่งพิมพ์กราฟฟิคไซท์.

จอมภัค จันทะคัต. (2561). ปัจจัยสมรรถนะที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการทำงานของอาจารย์สถาบันอุดมศึกษาในจังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ. 7(1): 162-176.

จันทร์ทา มั่งคำมี. (2562). การพัฒนาสมรรถนะบุคลากรสำนักยุทธศาสตร์ สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ภายใต้แนวทางการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่. หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ชุติกาญจน์ แก่นโส. (2557). สมรรถนะผู้บริหาร การพัฒนาบุคลากร และส่วนประสมการตลาดที่ส่งผลต่อความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน: กรณีศึกษา บริษัทอุตสาหกรรมอาหารแห่งหนึ่ง. ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ชุติมา วัฒนชัยสิทธิ์, สุนทรา โตบัว และวารุณี ลัภนโชคดี. (2561). สมรรถนะและแนวทางการพัฒนาสมรรถนะนักวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์หมึกบรรจุภัณฑ์. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี. 12(27): 157-165.

เทอดชัย บัวผาย และคณะ. (2558). รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะด้านไอซีทีของครูผู้สอนรายวิชาพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารระดับประถมศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารวิชาการครุศาสตร์อุตสาหกรรม พระจอมเกล้าพระนครเหนือ. 6(1): 68-77.

นิทัศน์ หามนตรี. (2558). การนำเสนอแนวทางการพัฒนาสมรรถนะของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1. วารสารวิจัยและพัฒนาวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. 10(2): 117-185.

นิลรัตน์ นวกิจไพฑูรย์. (2555). ประเภทของสมรรถนะ. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: https://www.gotoknow.org/posts/501771. (2562, 20 มีนาคม).

ปิยะดา พิศาลบุตร, จิราวรรณ คงคล้าย และเฉลิมชัย กิตติศักดิ์นาวิน. (2559). แนวทางการเพิ่มขีดความสามารถขององค์การด้านการพัฒนาสมรรถนะทรัพยากรมนุษย์. Veridian E-Journal, Silpakorn University ISSN 1906 – 3431. 9(1): 1315-1326.

ปรียนันท์ ประยูรศักดิ์. (2561). การสรรหาและบรรจุพนักงาน. กรุงเทพฯ: ศูนย์บริการสื่อและสิ่งพิมพ์กราฟ ฟิคไซท์.

ผดุงชัย ภู่พัฒน์. (2561). การพัฒนาตัวชี้วัดประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.

พาณี สีตกะลิน. (2558). บุคลิกภาพของผู้นำศตวรรษที่ 22. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: https://www.gotoknow.org/posts/501771. (2562, 22 มีนาคม).

พิชญา วัฒนรังสรรค์. (2558). การเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานโรงแรม ระดับ 4 ดาว ย่านสยามสแควร์. ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมการบริการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

พิมพ์ลักษณ์ อยู่วัฒนา. (2557). แนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรสายสนับสนุนเครือข่ายบริการสาธารณสุขจังหวัดสมุทรสงคราม. สมุทรสงคราม: สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรสงคราม.

พีรญา ชื่นวงศ์. (2560). ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงาน: กรณีศึกษา ธุรกิจการขนส่ง ในจังหวัดเชียงราย. วารสารเศรษฐศาสตร์และกลยุทธ์การจัดการ. 4(2): 93-100.

พงษ์ศักดิ์ ด้วงทา. (2557). การพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพครูโรงเรียนเอกชนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพิษณุโลก เขต 1. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

ไพบูรณ์ ตั้งใจ. (2554). ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงาน ตามหลักอิทธิบาท 4: กรณีศึกษา บริษัท แอมพาส อินดัสตรี จำกัด จังหวัดสมุทรปราการ. วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

วรรณภา ลือกิตินันท์. (2558). การประยุกต์ใช้แนวคิดสมรรถนะในการจัดการทรัพยากรมนุษย์: กรณีศึกษา บริษัทผลิตยางรถยนต์ชั้นนำระดับโลกแห่งหนึ่ง. วารสารวิทยาการจัดการ. 32(1): 19-36.

วีระศักดิ์ พัทบุรี. (2559). รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะการบริหารความขัดแย้งสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในจังหวัดชายแดนภาคใต้. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

สิริวดี ชูเชิด. (2559). การพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงาน. กรุงเทพฯ: ศูนย์หนังสือ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.

เอสซีจีโลจีสติกส์. (2559). ลักษณะบุคคลากรที่มีประสิทธิภาพ. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: https://www.scglogistics.co.th/blog/detail/129. (2562, 22 มีนาคม).

Alainati S. (2009). Competency in the context of knowledge management. In European and Mediterranean Conference on Information Systems. July 13-14 2009, Crowne Plaza Hotel, Izmir.

Alqiawi A. D., & Ezzeldin M. S. (2015). A Suggested Model for Developing and Assessing Competence of Prospective Teachers in Faculties of Education. World Journal of Education. 5(6): 65-73.

Chouhan, S. V., & Srivastava, S. (2014). Understanding Competencies and Competency Modeling - A Literature Survey. IOSR Journal of Business and Management (IOSR-JBM). 1(1): 14-22.

Francoise D. L. D., & Winterton J. (2005). What Is Competence. Human Resource Development International. 8(1): 27-46.

Mangaleswaran, T. (2015). Human Resource Competencies for Managing Challenges. Information and Knowledge Management. 5(9): 109-114.

Sharma P. (2017). Competence Development at the Workplace: a conceptual framework. JK International Journal of Management and Social Science. 1(1): 39-44.

Shavelson, J. R. (2010). On the measurement of competency. Empirical research in vocational Education and training. 2(1): 41-63.

Tulay. B. (2011). Management by competencies. [Online], Available at: www.risustr.com/risus/wpcontent/uploads/managementbycompetenciestulaybozkurt110329032120-phpapp02.pdf. (2019, 21 March)

Vazirani N. (2010). Review Paper Competencies and Competency Model-A Brief overview of its Development and Application. SIES Journal of Management. 7(1): 121-131.

Vathanophas, V. & Thai-ngam, J. (2007). Competency requirements for effective job performance in the Thai public sector. Contemporary Management Research. 3(1): 45-70.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

28-04-2022