การบูรณาการแนวคิดความรับผิดชอบต่อสังคมระดับโลก

ผู้แต่ง

  • รังสรรค์ ลีเบี้ยว หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทั่วไป คณะวิทยาการจัดการ 8 มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สระแก้ว

คำสำคัญ:

ความรับผิดชอบต่อสังคม

บทคัดย่อ

การศึกษาการบูรณาการแนวคิดความรับผิดชอบต่อสังคมระดับโลกมีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาบริบทของแนวคิดความรับผิดชอบต่อสังคมระดับโลก ประกอบด้วยแนวคิดเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์การสหประชาชาติ แนวคิดเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์การการค้าโลก แนวคิดเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคมของธนาคารโลก และแนวคิดเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน และบูรณาการแนวคิดความรับผิดชอบต่อสังคมทั้ง 4 แนวคิดในการเป็นแนวทางของความรับผิดชอบต่อสังคมระดับโลกเพื่อขับเคลื่อนในเชิงนโยบายและเชิงปฏิบัติ และเพื่อนำเสนอแนวทางของความรับผิดชอบต่อสังคมระดับโลกเชิงนโยบายและเชิงปฏิบัติ โดยศึกษาและรวบรวมข้อมูลจากเอกสารและตำราที่เกี่ยวข้อง เรียบเรียงและสังเคราะห์ประเด็นสำคัญและบูรณาการแนวคิด และนำเสนอในรูปแบบเชิงพรรณาและรูปภาพประกอบการบรรยาย ประเด็นสำคัญที่ได้จากการสังเคราะห์ความรู้ประกอบด้วย มิติด้านสังคม มิติด้านเศรษฐกิจ และมิติด้านสิ่งแวดล้อม การบูรณาการแนวคิดความรับผิดชอบต่อสังคมระดับโลก ประกอบด้วย 7 ประการคือ การกำหนดแนวคิดความรับผิดชอบต่อสังคมในการประกอบธุรกิจระดับโลก ความรับผิดชอบต่อสินค้าและบริการ ความรับผิดชอบต่อการดำเนินการระดับโลก ความรับผิดชอบต่อประชาคมโลก ความรับผิดชอบต่อสังคมโลก ความรับผิดชอบต่อเศรษฐกิจโลก และความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมโลก ในเชิงนโยบายและเชิงปฏิบัตินั้นควรคำนึงถึงบริบทโลกและบริบทของสังคมย่อย กฎและกติการะดับสากลที่เกี่ยวข้องและความต้องการของสังคมโลก

References

กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง. (2562). รายงานประจำปี 2562 กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง. กองยุทศาสตร์และแผนงาน. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.กรุงเทพฯ: รำไทยเพรส.

กรมพัฒนางานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน. (2558). แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก พ.ศ. 2558-2579. (14-25). กรุงเทพฯ: กระทรวงพลังงาน. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: https://www.dede.go.th/download/files/AEDP2015_Final_version.pdf (2564, 3 มีนาคม).

กรมโรงงานอุตสาหกรรม. (2563). มาตรฐานความรับผิดชอบต่อสังคมของผู้ประกอบการ. กระทรวงอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ: พญาพริ้นติ้งแอนด์พับลิซซิ่ง.

กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2561, 20 พฤศจิกายน). การจัดตั้งศูนย์ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจจังหวัด. ที่ พม 0605/ว19095.

กระทรวงพาณิชย์. (2555). สรุปสาระสำคัญขององค์การการค้าโลก (WTO). นนทบุรี. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: https://www.moc.go.th/index.php/2015-11-04-10-05-18/item/wto-22-2555.html. (2564, 5 มีนาคม)

กระทรวงสาธารณสุข. (2559). แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12. นนทบุรี. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: https://bps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/HealthPlan12_2560_2564.pdf (2564, 2 มีนาคม).

คณะกรรมการส่งเสริมความเท่าเทียมระหว่างเพศ กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว. (2561, 4 กันยายน). ข้อเสนอแนะว่าด้วยแนวปฏิบัติด้านการส่งเสริมความเสมอภาคและขจัดการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมระหว่างเพศตามพระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. 2558. กรุงเทพฯ: กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่งคงของมนุษย์. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: http://personnel.ops.go.th/main/index.php/service/gender-equality/256-2018-07-19-03-14-22 (2564, 2 มีนาคม).

ชุติพงศ์ คงสันเทียะ. (2560). ทฤษฏีและหลักการพัฒนาสังคม. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: http://portal5.udru.ac.th/ebook/pdf/upload/182i509A695iu65HCn6p.pdf ((2564, 1 มีนาคม).

ธนาคารโลก สำนักงานประเทศไทย. (2560). ประเทศไทยและกลุ่มธนาคารโลก. กรุงเทพฯ. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: http://pubdocs.worldbank.org/en/816701560822711048/pdf/WBGTH-Brochure-A4-TH-V1.pdf (2564, 1 มีนาคม).

สุดาว เลิศวิสุทธิไพบูลย์. (2550). CSR ทิศทางขององค์กรยุคใหม่. วารสารความปลอดภัยและสุขภาพ. 1(1): 40.

สมคิด บางโม (2558). จริยธรรมทางธุรกิจ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ เอส เค บุ๊คส์.

สถาบันพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน. (2556). ความรับผิดชอบต่อสังคมเพื่อความยั่งยืนขององค์กร. กรุงเทพฯ: สถาบันธุรกิจเพื่อสังคม ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. [ออนไลน์],

เข้าถึงได้จาก: https://www.set.or.th/yfs/main/download/YFS2018_ ExamReading01.pdf (2564, 4 มีนาคม)

สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. (2556). กรอบยุทธศาสตร์การจัดการด้านอาหารของประเทศไทย. พิมพ์ครั้งที่ 1. (69-85). นนทบุรี: กระทรวงสาธารณสุข. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: http://food.fda.moph.go.th/lgtfdapv/data/Strategy.pdf (2564, 2 มีนาคม)

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2554). รายงานสถานะโครงสร้างพื้นฐานของประเทศไทยปี 2554. กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: https://www.nesdc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=8141&filename=index (2564, 3 มีนาคม).

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564. กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: https://www.nesdc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=6422 (2564, 3 มีนาคม).

สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ. (2562). แผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 20 ปี พ.ศ. 2561-2580. (33-58). กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: http://www.onwr.go.th/wp-content/uploads/2019/09/แผนแม่บทฯน้ำ20-ปี-A4-Final.pdf (2564, 2 มีนาคม)

สำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน. (2562). แผนแม่บทพัฒนาแรงงานไทย ในระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2560-2564) ฉบับทบทวนประจำปี พ.ศ. 2562. (6-1 – 6-15). กรุงเทพฯ: กระทรวงแรงงาน. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: https://www.mol.go.th/wp-content/uploads/sites/2/2019/12/aephnphathnaaaerngngaanaithy_5_pii-biibad.pdf (2564, 3 มีนาคม)

สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. (2564). องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน. กรุงเทพฯ: กระทรวงอุตสาหกรรม. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: https://www.tisi.go.th/website/interstandard/iso (2564, 1 มีนาคม).

สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. (2554). มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม แนวคิดความรับผิดชอบต่อสังคม มอก. 26000 – 2553. กรุงเทพฯ: กระทรวงอุตสาหกรรม. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: http://research.rid.go.th/vijais/moa/fulltext/TIS26000-2553.pdf (2564, 10 มีนาคม).

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษา. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: http://backoffice.onec.go.th/uploads/Book/1540-file.pdf (2564, 2 มีนาคม)

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2545). กรอบประเด็นระดมความคิดเห็นเรื่อง คนจน โอกาสใหม่ในการพี่งตนเอง. เอกสารประกอบการประชุมประจำปี 2545 ความอยู่ดีมีสุขของคนไทย 5 ปี หลังวิกฤตเศรษฐกิจ. 21 มิถุนายน 2545. (17-24). นนทบุรี: สำนักนายกรัฐมนตรี. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: https://www.nesdc.go.th/images/content/book22-45.pdf (2564, 2 มีนาคม)

สมบัติ กุสุมาวลี. (2012). เศรษฐกิจสร้างสรรค์ จากทุนนิยมทำลายสู่ทุนนิยมสร้างสรรค์จากจักรวรรดินิยมสู่ทฤษฏีการพึ่งพาและอเมริกาภิวัฒน์. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: https://www.tpa.or.th/publisher/pdfFileDownloadS/p092-96.pdf (2564, 1 มีนาคม).

สุวิดา ธรรมมณีวงศ์. (2557). เศรษฐกิจแห่งการอยู่ร่วมกันกับธุรกิจทางเลือก. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/20912/23500 (2564, 1 มีนาคม).

International Organization for Standardization (2020). ISO26000 Guidance on Social responsibility. Geneva. Switzerland. [Online], Available: https://www.iso.org /files/live/sites/isoorg/files/store/en/PUB100258.pdf (2020, 12 June).

United Nations. (2019). Sustainable Development Goals. Geneva. Switzerland. [Online], Available: https://www.un.org/sustainabledevelopment/ sustainable - development -goals/ (2020, 1 October).

United Nations. (2020). Sustainable Development Goals. Geneva. Switzerland. [Online], Available: https://www.un.org/sustainabledevelopment/wp-content/uploads/2019/01/SDG_Guidelines_AUG_2019_Final.pdf

(2020, 1 March).

United Nations Industrial Development Organization (2002). Corporate social Responsibility. Geneva. Switzerland. United Nations. [Online], Available: https://open.unido.org/api/documents/4692413/download/CORPORATE%20SOCIAL%20RESPONSIBILITY%20-%20IMPLICATIONS%20FOR%20SMALL%20AND%20MEDIUM%20ENTERPRISES%20IN%20DEVELOPING%20COUNTRIES%20(22727.en) (2020, 12 June)

United Nations Visitors Centre. (2013). United Nations Member States. [Online], Available: https://visit.un.org/sites/visit.un.org/files/FS_List_member_states_Feb_2013.pdf (2022, 1 March).

The World Bank. (2011). Corporate Social Responsibility: Private Self-Regulation Is Not Enough. Private Sector Opinion. Washington DC. United State of America. [Online], Available: http://documents1.worldbank.org/curated/en/7315114683 25284128/pdf/661030BRI0Box365730B00PUBLIC00PSO0240CSR.pdf (2020, 1 October)

World Trade Organization. (2011). Understanding the WTO. [Online], Available: https://www.wto.org/english/thewto_e/whatis_e/tif_e/utw_chap7_e.pdf (2020, 1 October).

World Trade Organization. (2018). Trade and Investment Committee on Corporate Social Responsibility. Geneva. Switzerland. [Online], Available: https://www.model-wto.org /wp-content/uploads/2016/12/Chairpaper-Committee-on-Corporate-Social-Responsibility.pdf (2020, 1 October)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

30-04-2021