วิถีชีวิตและอัตลักษณ์ชุมชน อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี
คำสำคัญ:
วิถีชีวิต, อัตลักษณ์, คลองหลวงบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาวิถีชีวิตของประชาชนในชุมชนอำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี และ 2) เพื่อค้นหาอัตลักษณ์ชุมชนอำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ การสัมภาษณ์กลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญทั้งหมด (Key-Informants) ทั้งแบบการสัมภาษณ์ที่เป็นทางการ (Formal Interview) และแบบไม่เป็นทางการ (Informal Interview) โดยมีแบบสัมภาษณ์ กำหนดกลุ่มประชากรจำนวน 105 คน จากการใช้เทคนิคการอ้างอิงปากต่อปาก (Snowball Sampling Technique) และการสังเกตโดยใช้วิธีการสังเกตแบบมีส่วนร่วม (Participatory Observation) และการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม (Non-Participatory Observation) การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เรียบเรียงตามหลักทฤษฎีทางคติชนวิทยาภาษาและวรรณคดีไทย
ผลการวิจัยพบว่าวิถีชีวิตของประชาชนในเขตชุมชนตำบลคลองสาม คลองห้าและคลองหก มีความคล้ายคลึงกันในหลายลักษณะ ทั้งบรรพชนกลุ่มก่อตั้งชุมชน ความหลากหลายทางชาติพันธุ์อัตลักษณ์ของชุมชนคลองหลวง คือประวัติศาสตร์คลองขุด บ้านจัดสรรผุดหนาแน่น อดีตดินแดนวัฒนธรรม เชื้อชาติยังดำรงชีวิตเมืองกึ่งวิถีเกษตร
References
กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม. (2559). วัฒนธรรม วิถีชีวิต และภูมิปัญญา. กรุงเทพฯ: รุ่งศิลป์การพิมพ์.
จารีรัตน์ กล่อมขาง.(2563). ชาวบ้านตำบลคลองหก. สัมภาษณ์, 10 สิงหาคม 2563.
เจริญ สายนารา. (2563). ชาวบ้านตำบลคลองสาม. สัมภาษณ์, 20 กันยายน 2563.
ฉลาดชาย รมิตานนท์. (2558). อัตลักษณ์ วัฒนธรรม และการเปลี่ยนแปลง. เชียงใหม่:ศูนย์สตรีศึกษา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ณัฐพงศ์ รักงาม. (2559). แนวคิดอัตลักษณ์ท้องถิ่นภายใต้บริบทการเปลี่ยนแปลงในยุคโลกาภิวัตน์. วารสารวิทยาลัยสงฆ์นครลำปาง. 2(5): 2.
ดรุณศักดิ์ ตติยะลาภะ และเจด็จ คชฤทธิ์. (2561). ศึกษาการสร้างตัวแบบการจัดการที่อยู่อาศัยและที่ดินทำกิน ตำบลพืชอุดม อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี: สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน.
นวลปรางค์ มั่นเพียร. (2563). ชาวบ้านตำบลคลองห้า. สัมภาษณ์, 31 กรกฎาคม 2563.
ปริตตา เฉลิมเผ่า ก่ออนันตกูล. (2545). อัตลักษณ์ซ้อนของนักมานุษยวิทยาในบ้านเกิด. (หน้า 201-202). ใน ปริตตา เฉลิมเผ่า ก่ออนันตกูล (บก.) คนใน: ประสบการณ์ภาคสนามของนักมานุษยวิทยาไทย. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร.
ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี. (2554). มโนทัศน์การดำรงชีพ Livelihoods. เชียงใหม่: กองทุนพัฒนาวิชาการ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ภูสิทธ์ ขันติกุล. (2555). แนวคิดเกี่ยวกับภูมิสังคมและวิถีชีวิต. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: http://www.elfhs.ssru.ac.th/phusit/file.php/1/moddata/forum/1/5/_.pdf. (2563, 10 พฤษภาคม).
รุ่งนภา แก้วธรรม. (2563). ชาวบ้านตำบลคลองสาม. สัมภาษณ์, 18 พฤษภาคม 2563.
วรลักษณ์ วีระยุทธ. (2563). ชาวบ้านตำบลคลองห้า. สัมภาษณ์, 29 กรกฎาคม 2563.
วิไลวรรณ ทวิชศรี. (2560). อัตลักษณ์ชุมชน: แนวคิดและการจัดการเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโดยหลักพุทธสันติวิธีของเทศบาลตำบลเชียงคาน จังหวัดเลย. วารสารศิลปะการจัดการ. 1(2): 63-73.
ศิขรา ศิริสาร. (2556). กระบวนการปฏิสัมพันธ์และการสร้างอัตลักษณ์ ร่วมในแฟนเพจเฟซบุ๊ก: ศึกษากรณีแฟนเพจฮิปคิงดอม. วารสารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 24(3): 6.
ศิริวรรณ เจนกระจวน. (2563). ชาวบ้านตำบลคลองห้า. สัมภาษณ์, 20 กันยายน 2563.
ศุภวรรณ เจริญชัยสมบัติ. (2554). การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมและวิถีชีวิตชุมชนจากการท่องเที่ยว: กรณีศึกษาเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี. วิทยานิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สมัย สุทธิธรรม. (2543). สารคดี ชุด ถิ่นทองของไทย: ปทุมธานี. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
สำราญ น้อยนนท์. (2563). ชาวบ้านตำบลคลองสาม. สัมภาษณ์, 13 พฤษภาคม 2563.
อภิญญา เฟื่องฟูสกุล. (2546). อัตลักษณ์. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2021 พิชญาณี เชิงคีรี ไชยยะ
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ เป็นความคิดเห็นของผู้นิพนธ์แต่ละท่าน มิใช่เป็นทัศนะและมิใช่ความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการจัดทำวารสาร และ
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์