การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอาหารภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจ BCG

ผู้แต่ง

  • ดารณี อาจหาญ ภาควิชาการจัดการการโรงแรม คณะมนุษยศาสตร์และการจัดการการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
  • เกิดศิริ เจริญวิศาล สาขาการจัดการการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร

คำสำคัญ:

การท่องเที่ยวเชิงอาหาร, ความมั่นคงทางอาหาร, เศรษฐกิจสร้างสรรค์, โมเดลเศรษฐกิจ BCG

บทคัดย่อ

     ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศภายใต้โมเดลเศรษฐกิจ BCG ของรัฐบาล พ.ศ. 2564 - 2569 โดยมุ่งเน้นกลุ่มการท่องเที่ยวและเศรษฐกิจสร้างสรรค์เป็นเป้าหมายในการพัฒนาเศรษฐกิจให้เติบโตอย่างยั่งยืน เพื่อการกระจายรายได้ไปสู่พื้นที่ชุมชนอย่างทั่วถึง และลดความเหลื่อมล้ำที่เกิดจากการกระจุกตัวของนักท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยม การท่องเที่ยวเชิงอาหารเป็น ส่วนหนึ่งของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวมีศักยภาพด้านทุนทรัพยากรที่เหมาะสมต่อแนวทางพัฒนาและมีบริบทขององค์ประกอบที่สอดคล้องกับแนวคิดเศรษฐกิจ BCG คือ ระบบเกษตร ซึ่งเป็นจุดกำเนิดของแหล่งอาหาร เรื่องราวที่มาของอาหาร รวบรวมมรดกภูมิปัญญาทางอาหาร สามารถนำมาต่อยอดสู่อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ ดังนั้น บทความวิชาการนี้ เป็นการทบทวนเอกสารและงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบและกลไกเพื่อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอาหารภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจ BCG พบว่า กลไกการขับเคลื่อนการท่องเที่ยวเชิงอาหาร ควรมีองค์ประกอบหลัก 2 ส่วน คือ “AGFEC” ได้แก่ A–Agriculture (การเกษตร) G-Gastronomic (วัฒนธรรมอาหารการกิน) F-Food Safety (อาหารปลอดภัย) E-Experience (คุณค่าทางประสบการณ์ที่ได้สัมผัส) C-Creative Entrepreneur (ผู้ประกอบการสร้างสรรค์) และองค์ประกอบร่วม 4 ด้าน ได้แก่ ศักยภาพพื้นที่ ความมั่นคงทางอาหาร การเชื่อมโยงห่วงโซ่อุปทาน และปัจจัยสนับสนุน ทั้งนี้ยังพบว่า การยกระดับห่วงโซ่คุณค่าไปพร้อมกันทั้งคลัสเตอร์การท่องเที่ยวระดับเมืองและคลัสเตอร์การท่องเที่ยวระดับชุมชน ด้วยการสร้างเครือข่ายดำเนินงานร่วมกันด้วยแนวทางการสร้างความมั่นคงทางอาหารให้ประเทศพร้อมกับการสร้างความมั่นคงให้กับทรัพยากรบนฐานการผลิตที่ยั่งยืน

References

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. (2564). แผนการปฏิบัติการ ด้านการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศไทยด้วยโมเดลเศรษฐกิจ BCG พ.ศ. 2564-2570. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก https://waa.inter.nstda.or.th/stks/pub/bcg/20211228-BCG-Action-Plan-2564-2570.pdf

ฉันทานนท์ วรรณขจร. (2564). การประชุมเชิงปฏิบัติการ APEC Policy Partnership on Food Security Roadmap Intersessional Webinar. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/940608. (2564, 16 พฤษภาคม).

ชญานิน วังซ้าย. (2557). Food Will Keep Us Alive. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก http://www.etatjournal.com/web/component/tags/tag/chayanin. (2564, 16 พฤษภาคม).

ชัยนันต์ ไชยเสน. (2562). แนวทางการเพิ่มขีดความสามารถและนวัตกรรมการบริการธุรกิจร้านอาหารยุค 4.0 เพื่อส่งเสริมและพัฒนาจังหวัดภูเก็ตเป็นเมืองสร้างสรรค์ด้านอาหาร. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี. 13(3), 491-504.

ประชาคมวิจัยด้านเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียนและเศรษฐกิจสีเขียว. (2561). สมุดปกชาว BCG in Action การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศไทย เพื่อเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียนและเศรษฐกิจสีเขียว. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก file:///C:/Users/User/Downloads/BCG_WhitePaper201811051.pdf. (2564, 20 เมษายน).

นนทกานต์ จันทร์อ่อน. (2557). ความมั่นคงทางอาหารของประเทศไทย. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก http://library.senate.go.th/document/Ext7091/7091777_0002.PDF. (2564, 20 เมษายน).

เสกสรร พาป้อง. (2560). ระบบอาหารที่ยั่งยืน. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก https://www.nstda-tiis.or.th/our-rd-activities/sd-data/10yfp-scp/sfs/. (2564, 19 เมษายน).

สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2561). สถานการณ์นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ม.ค. - มิ.ย. 61. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก https://secretary.mots.go.th/index.php. (2564, 20 เมษายน).

สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2562). รายงานสภาวะเศรษฐกิจการท่องเที่ยว: Tourism Economic Review. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก https://www.mots.go.th/download/article/article_20191025094442.pdf. (2564, 20 เมษายน).

สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. (2563). BCG in Action: สาขาการท่องเที่ยวและเศรษฐกิจสร้างสรรค์. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก https://waa.inter.nstda.or.th/stks/pub/2021/bcg-in-action-tourism-creative-economy.pdf. (2564, 19 เมษายน).

อัตตนาถ ยกขุน, ชนกนารถ ราชภักดี และธนิสร พิตรชญารมย์. (2563). แนวทางการพัฒนา การท่องเที่ยวเขิงอาหารในประเทศไทย. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย. 10(1), 60-68.

TAT Academy. (2564). การท่องเที่ยวตามแนวคิด BCG. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก https://tatacademy.com/th/publish/article/e64b2554-d206-4e07-8c83-5df6a1f4fe65

TAT Review Magazine. (2011). เศรษฐกิจสร้างสรรค์. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก http://www.etatjournal.com/mobile/index.php/menu-read-tat/menu-2011/menu-2011-apr-jun/107-22554-creative-economy?fbclid=IwAR0o-hasyWnaLlM0y8MxKhvpIg5bTLbCg9gJWfIfRw6wCQtQYdStfrt5q68. (2564, 17 เมษายน).

Andersson, D, T., Mossverg, L. & Therkelsen, A. (2017). Food and tourism synergies: perspectives on consumption, production and destination development. Scandinavian Journal of Hospitality and Tourism. 17(1), 1-8. https://doi.org/10.1080/15022250.2016.1275290

Baum, T. (2019). Bridging the gap: making research ‘useful’ in food, tourism, hospitality and events - the role of research impact. The Study of Food, Tourism, Hospitality and Events. Springer, Singapore.

Ellis, A., Park, E., Kim, S. & Yeoman, I. (2019). What is food tourism ?. Tourism Management. 68(2018), 250-263.

FAO & INRAE. (2020). Enabling sustainable food systems: Innovators’ handbook. Rome. [Online], Available: https://doi.org/10.4060/ca9917en

Getz, D., Robinson, R., Andersson, T. & Vujicic, S. (2014). Foodies and Food Tourism. Goodfellow Publishers. Oxford.

Hall, C. M. & Go¨ssling, S. (Eds). (2016). Food Tourism and Regional Development: Networks, Products and Trajectories. Routledge.

Hall, C. M., & Sharples, L. (2003). The consumption of experiences or the experience of consumption? An introduction to the tourism of taste. In C. M. Hall, L. Sharples, R. Mitchell, N. Macionis, B. Cambourne (Eds.), Food tourism around the world: Development, management and markets (pp. 1–24). Oxford: Butterworth-Heinemann.

Hall, C. M., Sharples, L., Mitchell, R., Macionis, N. & Cambourne, B. (Eds). (2004). Food Tourism around the World. Routledge.

Horng, J. S. & Tsai, C. T. (2012). Culinary tourism strategic development: an Asia-Pacific perspective. International Journal of Tourism Research. 14(1), 40-55.

Howkins, j. (2001). The Creative Economy: How People Make Money From Ideas. Penguin UK.

Lin, Y-C., Pearson, T. E. & Cai, L.A. (2011). Food as a form of destination identity: a tourism destination brand perspective. Tourism and Hospitality Research. 11(1): 30-48.

Okumus, B., Koseoglu, M. A. & Ma, F. (2018). Food and gastronomy research in tourism and hospitality: a bibliometric analysis. International Journal of Hospitality Management. 73(January), 64-74.

Quan, S., & Wang, N. (2004). Towards a structural model of the tourist experience: An Illustration from food experience in tourism. Tourism Management. 25(3), 297-305

Rinaldi, C. (2017). Food and gastronomy for sustainable place development: a multidisciplinary analysis of different theoretical approaches. Sustainability. 9(10): 1748.

Scarpato, R. (2000). New Global Cuisine: The perspective of postmodern Gastronomy Studies. Unpublished masters thesis, Royal Melbourne Institute of Technology

Smith, A. D. (1995). Gastronomy or geology? The role of nationalism in the reconstruction of nations. Nations and Nationalism. 1(1): 3-23.

Smith, S., & Xiao, H. (2008). Culinary tourism supply chains: A preliminary examination. Journal of Travel Research. 46(3): 289-299

The Global Sustainable Tourism Council. (2019). GSTC Destination Criteria Version 2.0. [Online], Available: https://www.gstcouncil.org

The World Food Travel Association. (2019). What is food tourism. [Online], Available: https://worldfoodtravel.org/what-is-food-tourism/

UNESCO. (2021). International Year of Creative Economy for Sustainable Development. [Online], Available: https://en.unesco.org/news/international-year-creative-economy-sustainable-development

Yeoman, I. (2008). Tomorrows Tourist: Scenarios and Trends. Elsvevier, Oxford

Yeoman, I. (2012). 2050: Tomorrows Tourism. Channel View. Bristo

Yeoman, I., McMahon-Beattie, U., Fields, K., Albrecht, J. & Meethan, K. (2015), The Future of Food Tourism. Channel View Publications. Bristol

Yeoman, I. & McMahon-Beatte, U. (2016). The future of food tourism. Journal of Tourism Futures. 2(1): 95-98.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

31-08-2022