ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 ต่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์และองค์กรธุรกิจในประเทศไทย
คำสำคัญ:
องค์การธุรกิจ, ทรัพยากรมนุษย์, ผลกระทบ, การปรับตัว, การแพร่ระบาด, โควิด-19บทคัดย่อ
การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 หรือ โควิด-19 กระจายไปทั่วโลกมากกว่า 200 ประเทศเป็นเวลาติดต่อกันสองปีเศษแล้วและยังไม่อาจทราบได้ว่าจะยุติลงเมื่อไร บทความนี้จะนำเสนอผลกระทบในมิติทางเศรษฐกิจและมิติทางสังคมที่ส่งผลต่อองค์การทางธุรกิจ และการจัดการทรัพยากรมนุษย์ในประเทศไทย ผลกระทบต่อองค์การธุรกิจมีสามระดับคือ ระดับองค์การ (Corporate Level) ระดับธุรกิจ (Business Level) และระดับหน่วยงาน (Functional Level) ส่วนผลกระทบต่อระบบการจัดการทรัพยากรมนุษย์มี 2 ระดับ คือ ระดับนโยบายด้านทรัพยากรมนุษย์ (Strategic Human Resource Level) และระดับแนวปฏิบัติในด้านภารกิจต่าง ๆ ของงานทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Practices Level) สุดท้ายบทความนี้ได้นำเสนอ การปรับตัวขององค์การธุรกิจ อันประกอบด้วย ระดับนโยบาย ได้แก่ การพัฒนากลยุทธ์ทางธุรกิจใหม่/โมเดลธุรกิจใหม่ การลงทุนในเทคโนโลยี ระดับปฏิบัติการ เช่น การลดต้นทุน การเพิ่มประสิทธิภาพด้วยเทคโนโลยีและทักษะใหม่ รวมทั้งการแสวงหาโอกาสทางธุรกิจใหม่ ส่วนการปรับตัวด้านทรัพยากรมนุษย์ในระดับนโยบาย เช่น นโยบายด้านการจ้างงาน ด้านเงื่อนไขการปฏิบัติงานในอนาคต เป็นต้น และการปรับตัวเรื่องการพัฒนาทักษะใหม่ที่จำเป็นต่อการทำงานหลังยุคโควิด-19
References
กองบริหารข้อมูลตลาดแรงงาน กรมจัดกางาน. (2564). ทิศทางตลาดแรงงานในยุคสถานการณ์ Covid-19. กรุงเทพฯ: กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม.
กำธร ธรรมพิทักษ์. (2021). การประเมินค่าภาระโรคโควิด-19 ของการระบาดช่วงแรกในประเทศไทย. วารสารควบคุมโรค. 47(3): 518-527.
โศภิต นาสืบ. (2564). รายงานผลการทบทวน ผลกระทบเชิงเศรษฐกิจและสังคมจากการระบาดของโควิด-19. นนทบุรี: สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (IHPP) กองโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค.
วัลลี พุทโสม. (2021). แบบจำลองปัจจัยเชิงสาเหตุของความสามารถในการปรับตัวกับผลการดำเนินงานและความอยู่รอดของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดเล็กในสถานการณ์ โควิด-19. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี. 15(2): 129-144.
ศูนย์บริหารสถานการณ์ โควิด-19 (ศบค.). (2565). สถานการณ์ โควิด-19 ประจำวัน. กระทรวงสาธารณสุข 3.
สอาด บรรเจิดฤทธิ์. (2564). ความปรกติใหม่ของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ภาคธุรกิจยุค หลังโควิด-19. วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. 8(2), 46-59.
สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ กรมควบคุมโรค. (2564). รายงานผลการทบทวน ผลกระทบเชิงเศรษฐกิจและสังคมจากโรคระบาดของโควิด-19 ในระดับโลก และในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: กระทรวงสาธารณสุข.
เสาวณี จันทะพงษ์ และเจริญชัย เอกมาไพศาล. (2564). ผลกระทบและการปรับตัว (Resilience) ของผู้ประกอบการธุรกิจโรงแรมและร้านอาหารช่วงโควิด-19: วิเคราะห์จากหลักคิด Outside-In. “แจงสี่เบี้ย” กรุงเทพธุรกิจ. วันที่ 25 ตุลาคม 2564.
เสาวลักษณ์ กิตติประภัสร์ ธรรมวิทย์ เทอดอุดมธรรม พราวภวินท์ พักตร์ธนาปกรณ์ และพัชราภรณ์ ศอกจะบก. (2563). ผลกระทบทางสังคมจากการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และวิกฤติเศรษฐกิจ. กรุงเทพฯ: สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์.
เอมิกา เหมมินทร์ และคณะ. (2564). ผลกระทบของทีมผู้บริหารต่อการรับรู้ผลการดำเนินงานของธุรกิจโรงแรมในจังหวัดภูเก็ต. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น มนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์. 7(2), 222-238.
Fred, R. D. & Forest, R. D. (2017). Strategic Management. (16th ed.). London: Pearson.
Montserrat Penarroya-Farel, & Francese Miralles. (2022). Business Model Adaptation to the Covid-19 Crisis: Strategic Response of the Spanish Cultural and Creative Firms. Journal of Open Innovation: Technology. Market, and Complexity 2022,8,39.
Raphael Amit & Christoph Zott. (2021). Business Model Innovation Strategy. Wiley.
Raymond J. Stone. (2016). Human Resource Management, (9th ed.) John Wiley & Sons Australia.
Sue Bingham. (2020). How HR Leaders Can Adapt to Uncertain Times. Harvard Business Review. August 04, 2020
Wanwisa Charoennan & Henzel Embalzado. (2021). The Impacts of Covid-19 Pandemic and Strategic Response: Insights from Business Owners in Thailand. Chulalongkorn Business Review. 43(2)(168), 47-71.
World Health Organization, South-East Asia. (2020). 2019 Novel Coronavirus (2019-nCoV) Strategic Preparedness and Response Plan for the South-East Asia Region, World Health House Indraprastha Estate, Mahatma Gandhi Marg, New Delhi 110002, India.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 สอาด บรรเจิดฤทธิ์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ เป็นความคิดเห็นของผู้นิพนธ์แต่ละท่าน มิใช่เป็นทัศนะและมิใช่ความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการจัดทำวารสาร และ
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์