การคิดอย่างมีจริยธรรมตามคำสอนของพระพุทธเจ้า
คำสำคัญ:
จริยธรรม, พระพุทธเจ้า, การคิดบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มุ่งศึกษาการคิดด้านจริยธรรมตามคำสอนของพระพุทธเจ้า พบว่า การคิดมีผลต่อการพูดและการกระทำ การคิดดีนำไปสู่การพูดดีทำดี และการคิดชั่วนำไปสู่การพูด ชั่งทำชั่ว โดยมีความโลภ ความโกรธ ความหลง เหนี่ยวนำจิตใจมนุษย์ ให้คิดไปในทางที่ดีหรือชั่ว การใช้ความคิดอย่างถูกวิธี หรือ โยนิโสมนสิการ ร่วมกับคำสอนเกี่ยวกับการคิดดีคิดชั่วและ การตระหนักถึงบาปบุญคุณโทษ เป็นสิ่งสำคัญที่นำความคิดไปสู่ความเห็นที่ถูกต้อง ความคิดที่ถูกต้อง การพูดที่ถูกต้อง การปฏิบัติที่ถูกต้อง การใช้ชีวิตที่ถูกต้อง ความพยายามที่ถูกต้อง การมีสติ และการมีจิตตั้งมั่นที่ถูกต้อง
References
พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2556). โยนิโสมนสิการ วิธีคิดตามหลักพุทธธรรม. นครปฐม: วักญาณเวศกวัน. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: https://www.watnyanaves.net/th/book_detail/592. (2565, 21 เมษายน).
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2560 ก). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (เล่มที่ 11). พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 3 ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค (11. ทสุตตรสูตร). (หน้า 252-432). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2560 ข). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (เล่มที่ 14). พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 6 มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เทวทหวรรค (9. มหาปุณณมสูตร). (หน้า 96). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2560 ค). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (เล่มที่ 19). พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 11 สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค อวิชชาวรรค (2. อุปัฑฒสูตร). (หน้า 1). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2560 งก). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (เล่มที่ 20). พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 12 อังคุตตรนิกาย เอกกนิบาต (7. วีริยารัมภาทิวรรค). (หน้า 12). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2560 งข). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (เล่มที่ 20). พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 12 อังคุตตรนิกาย ติกนิบาต พาสวรรค (2. ลักขณสูตร). (หน้า 140). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2560 งค). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (เล่มที่ 20). พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 12 อังคุตตรนิกาย ติกนิบาต มหาวรรค (9. อกุสลมูลสูตร). (หน้า 275-277). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2560 งง). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (เล่มที่ 20). พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 12 อังคุตตรนิกาย ติกนิบาต อาปายิกวรรค (5. วิปัตติสัมปทาสูตร, 7. กัมมันตสูตร). (หน้า 361-365). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2560 งช). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (เล่มที่ 20). พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 12 อังคุตตรนิกาย ติกนิบาต มังคลวรรค (1. อกุสลสูตร). (หน้า 395). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2560 ฉ). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (เล่มที่ 24). พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 16 อังคุตตรนิกาย ทสกนิบาต อักโกสวรรค (7. มหาลิสูตร). (หน้า 103). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2560 ช). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (เล่มที่ 25). พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 17 ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ ยมกวรรค (1. จักขุปาลเถรวัตถุ, 2. มัฏฐกุณฑลีวัตถุ). (หน้า 23-24). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2560 ซ). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (เล่มที่ 31). พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 23 ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค มหาวรรค (8. วิปัลลาสกถา). (หน้า 399). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 รังสรรค์ ลีเบี้ยว
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ เป็นความคิดเห็นของผู้นิพนธ์แต่ละท่าน มิใช่เป็นทัศนะและมิใช่ความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการจัดทำวารสาร และ
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์