การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำความเป็นนวัตกรของผู้บริหารกับการบริหารสถานศึกษา สำหรับวิทยาลัยในสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดอุดรธานี
คำสำคัญ:
ภาวะผู้นำความเป็นนวัตกร, การบริหารสถานศึกษา, วิทยาลัยในสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดอุดรธานีบทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับภาวะผู้นำความเป็นนวัตกรของผู้บริหาร สำหรับวิทยาลัยในสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดอุดรธานี 2) ศึกษาระดับการบริหารสถานศึกษา สำหรับวิทยาลัยในสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดอุดรธานี และ 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำ ความเป็นนวัตกรของผู้บริหารกับการบริหารสถานศึกษา สำหรับวิทยาลัยในสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดอุดรธานี กลุ่มประชากรในสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดอุดรธานี จำนวน 27 แห่งจำแนกเป็นวิทยาลัยภาครัฐจำนวน 9 แห่งวิทยาลัยภาคเอกชนจำนวน 18 แห่งโดยกลุ่มตัวอย่างได้มาโดยเลือกแบบเจาะจง จำนวน 297 คน ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 3 คนต่อสถานศึกษา และตัวแทนครูผู้สอนจำนวน 8 คนต่อสถานศึกษา เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามภาวะผู้นำความเป็นนวัตกรของผู้บริหาร และแบบสอบถามระดับการบริหารสถานศึกษา มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .99 สถิติใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัย พบว่า 1) ภาวะผู้นำความเป็นนวัตกรของผู้บริหารของผู้บริหาร โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.17, S.D. = 0.67) 2) การบริหารสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.20, S.D. = 0.68) และ 3) ภาวะผู้นำความเป็นนวัตกรของผู้บริหารของผู้บริหารกับการบริหารสถานศึกษามีความสัมพันธ์ โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่าง 0.61 - 1.00 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2562). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.
ชัญญาภัค ใยดี. (2561). การศึกษาแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำด้านเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษา. วารสารดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์. 8(1), 150-164.
บรรจบ บุญจันทร์. (2554). โมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นาเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. ดุษฎีนิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ปิยะพงษ์ โสเสมอ. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของโรงเรียนในจังหวัดนครปฐม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต 9. งานนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา.
ภัทรา ธรรมวิทยา และนันทรัตน์ เจริญกุล. (2558). การศึกษาภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารโรงเรียนเอกชน ระดับประถมศึกษาในเขตธนบุรี. วารสารอิเล็กทรอนิกส์การศึกษา. 10(1), 1-13.
ภาคภูมิ งอกงาม. (2556). คุณลักษณะภาวะผู้นำเชิงอิเล็กทรอนิกส์ของผู้บริหารระดับกลางโรงเรียนในฝัน จังหวัดอ่างทอง. สารนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโวฒ.
ศุภวรรณ รูปงาม. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงกับประสิทธิผลการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 21. การค้นคว้าอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สท้าน วารี. (2560). การพัฒนาตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด. 11(1), 120-129.
สายทิตย์ ยะฟู. (2560). การวิจัยทางการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 2). นครสวรรค์: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเพชรบูรณ์. (2563). รายงานผลการปฏิบัติงานประจำปีการศึกษา. (อัดสำเนา).
สุกัญญา แช่มช้อย. (2558). ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยี: การนำเทคโนโลยีสู่ห้องเรียนและโรงเรียนในศตวรรษที่ 21. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 16(4), 216-224.
อัจฉรา เมฆนิล. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา ในสหวิทยาเขตนนทบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
อิทธิฤทธิ์ กลิ่นเดช. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีกับการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสระบุรี. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
HAM, C. & HILL, M. (1993). The policy process in the modern capitalist state, Harvester Wheatsheaf, Londres,
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 อัชฌพร อังกินันทน์, ประสิทธิ์ อังกินันทน์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ เป็นความคิดเห็นของผู้นิพนธ์แต่ละท่าน มิใช่เป็นทัศนะและมิใช่ความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการจัดทำวารสาร และ
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์