คุณภาพการบริการของธุรกิจนำเที่ยวในยุคความปกติถัดไป
คำสำคัญ:
คุณภาพการบริการ, ธุรกิจท่องเที่ยว, ความปกติถัดไป, โควิด - 19บทคัดย่อ
ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ทำให้สภาพเศรษฐกิจถดทอยและธุรกิจในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการที่ได้รับผลกระทบโดยตรงอย่างรุนแรงจนทำให้ธุรกิจนำเที่ยวต้องหยุดชะงัดและพฤติกรรมการเดินทางเปลี่ยนไปโดยคำนึงถึงความปลอดภัยมากขึ้น จากสถานการณ์โรคระบาดดังกล่าว ธุรกิจนำเที่ยวจำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูให้การกลับมาดำเนินธุรกิจอีกครั้ง โดยพิจารณาปรับเปลี่ยนวิถีการดำเนินธุรกิจการบริการใหม่ (New Business Norms)
โดยตระหนักถึงความสำคัญของการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการบริการด้วยเทคนิคต่าง ๆ พร้อมกับยกระดับการสร้างประสบการณ์ที่มีคุณค่ากับนักท่องเที่ยวที่มีความแตกต่างจากการดำเนินธุรกิจ
นำเที่ยวก่อนสถานการณ์แพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19จะเกิดขึ้น ซึ่งบทความวิชาการนี้ ผู้เขียน จะนำเสนอการทบทวนแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ 1) แนวคิดคุณภาพการบริการ
2) ความคาดหวังของผู้รับบริการต่อคุณภาพบริการของธุรกิจนำเที่ยวในยุคความปกติถัดไป และ
3) แนวทางการปรับปรุงคุณภาพบริการของธุรกิจนำเที่ยวในยุคความปกติถัดไป เพื่อให้ผู้ประกอบการธุรกิจนำเที่ยวใช้เป็นแนวทางวางแผนการจัดการคุณภาพการบริการและทำให้เกิดการฟื้นตัวของ
ธุรกิจนำเที่ยวด้วยความเชื่อมั่นในยุคความปกติถัดไป (Next Normal) พร้อมกับเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน เสริมสร้างความมั่นใจและเรียกความเชื่อมั่นจากผู้รับบริการไปสู่การสร้างความพึงพอใจตลอดจนการตัดสินใจใช้บริการซ้ำและการบอกต่อในอนาคตและเพื่อให้ธุรกิจนำเที่ยวยังคงบทบาท ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและบริการต่อไปอย่างยั่งยืน
References
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2565ก). Executive summary สถานการณ์การท่องเที่ยวเดือนมกราคม 2565. กรุงเทพฯ: กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2565ข). Executive Summary สถานการณ์การท่องเที่ยวเดือนกุมภาพันธ์ 2565. กรุงเทพฯ: กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2565ค). Executive Summary สถานการณ์การท่องเที่ยวเดือนมีนาคม 2565. กรุงเทพฯ: กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.
กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. (2564). Covid-19 ต่อภาคการท่องเที่ยวไทยผลกระทบและแนวทางการแก้ไขปัญหา. กรุงเทพฯ: หน่วยบริการและจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (บพข.). กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม.
คำนาย อภิปรัชญาสกุล. (2557). การบริการผู้รับบริการ. (พิมพ์ครั้งที่ 16). กรุงเทพฯ: โฟกัสมีเดียแอนด์พับลิชชิ่ง.
ดวงศิริ ภูมิวิชชุเวช. (2564). จิตวิทยาการบริการ. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2563). The Next Normal ส่องเทรนด์ "ความความปกติถัดไป" หลังโควิด 19. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: https://www.bot.or.th/Thai/BOTMagazine/Pages/256306GlobalTrend.aspx. (2566, 13 มีนาคม).
ปาริชาติ คุณปลื้ม. (2563). การปรับตัวของธุรกิจหลังยุค Covid-19. วารสารการเมืองการบริหาร และกฎหมาย. 12(12): 99-109.
พิสิทธิ์ พิพัฒน์โภคากุล. (2553). Service Excellence: Service Code การบริการที่เป็นเลิศ: รหัสบริการ. นนทบุรี: ดิ อิมเพรสชั่น คอนซัลแทนท์.
มหาวิทยาลัยมหิดล. (2564). NEO Tourism ท่องเที่ยวมิติใหม่ เจาะอินไซต์นักเดินทาง. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: https://tatacademy.com/th/articles/article/e88576e6-df87-4256-ac57-141ddb36f01c. (2565, 3 ตุลาคม).
เลิศพร ภาระสกุล. (2559). พฤติกรรมนักท่องเที่ยว. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วรลักษณ์ เขียวมีส่วน, สันติภาพ คำสะอาด และพิทักษ์ ศิริวงศ์. (2561). แนวทางการพัฒนาศักยภาพธุรกิจสปา เพื่อตอบสนองความคาดหวังในการใช้บริการของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ บริเวณอำเภอหัวหิน จังหวัดประจบคีรีขันธ์. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี. 2(2): 167-181.
วิจัยกรุงศรี. (2564). ธุรกิจท่องเที่ยวและโรงแรมหลัง COVID-19. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: https://www.krungsri.com/th/research/research-intelligence/ri-future-of-tourism-21. (2566, 23 มีนาคม).
ศุภัตรา ฮวบเจริญ และนันทินี ทองอร. (2565). แนวทางการสร้างความเชื่อมั่นต่อการท่องเที่ยวในภาวะวิกฤตโรคระบาด. วารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย. 17(1): 46-59.
ศูนย์พัฒนาวิชาการด้านตลาดการท่องเที่ยว. (2564). TAT NEO TOURISM ท่องเที่ยวมิติใหม่ Insight นักท่องเที่ยวยุค Next Normal. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: https://tatacademy.com/th/articles/article/e88576e6-df87-4256-ac57-141ddb36f01c. (2566, 20 มีนาคม).
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2565). 1 พ.ค. 65 เปิดประเทศเต็มรูปแบบ ก้าวสำคัญของไทย...จัดใหญ่หนุนตลาดท่องเที่ยว. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: https://www.kasikornresearch.com/th/analysis/k-social-media/Pages/Reopening-FB-03-05-2022.aspx. (2565, 3 ตุลาคม).
สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. (2564). ผลกระทบโควิด-19 ต่อการจ้างงานในภาคบริการของประเทศไทย. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: https://tdri.or.th/2020/09/services-sectors-affected-by-the-covid-19/. (2566, 13 มีนาคม).
สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. (2564). Next Normal การรับตัวธุรกิจ MSME ไทย หลังวิกฤตโควิด-19. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: https://www.sme.go.th/upload/mod_download/download-20211026100421.pdf. (2565, 5 ตุลาคม).
อิทธิกร คำไล้. (2561). ศิลปะการให้บริการ. กรุงเทพฯ: วังอักษร.
Ali, B. J., Saleh, P. F., Akoi, S., Abdulrahman, A. A., Muhamed, A. S., Noori, H. N., & Anwar, G. (2021). Impact of service quality on the customer satisfaction: case study at online meeting platforms. International Journal of Engineering, Business and Management. 5(2): 65-77.
Buzzell, R. D. & Gale, B. T. (1987). The PIMS Principles: Linking Strategy to Performance. New York: The Free Press. อ้างใน ภาวิณี ทองแย้ม. (2560). ความสำคัญของคุณภาพการบริการต่อความสำเร็จของธุรกิจ. วารสารเกษมบัณฑิต. 18(1), 219-231.
Gowreesunkar V., Maingi, S. W., Roy, H. & Micera, R. (2022). Rebuilding tourism post pandemic – policy recommendations from global case studies. Bingley: Emerald Publishing Limited.
Johnston, R., & Clark, G. (2008). Service operations management improving service delivery. (3rd ed.). England: Pearson Education.
Lewis, R. C., & Booms, B. H. (1983). The marketing aspects of service quality. Chicago: American Marketing Association.
Parasuraman, A., Zeithaml, V. A., & Berry, I. L. (1985). A conceptual model of service quality and its implications for future research. Journal of Marketing. 49(4): 41-50.
Wongmonta, S. (2021). Post-COVID 19 Tourism Recovery and Resilience: Thailand Context. International Journal of Multidisciplinary in Management and Tourism. 5(2): 137-148.
World Travel & Tourism Council. (2021). Investing in travel and tourism. United Kingdom.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 ดวงศิริ ภูมิวิชชุเวช, นำขวัญ วงศ์ประทุม, ปทุมพร แก้วคำ
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ เป็นความคิดเห็นของผู้นิพนธ์แต่ละท่าน มิใช่เป็นทัศนะและมิใช่ความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการจัดทำวารสาร และ
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์