การพัฒนาจริยธรรมตามคำสอน ศีล สมาธิ ปัญญา ของพระพุทธเจ้า
คำสำคัญ:
การพัฒนาจริยธรรม, จริยธรรม, พระพุทธเจ้าบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มุ่งศึกษาการพัฒนาจริยธรรมตามคำสอน ศีล สมาธิ ปัญญา ของพระพุทธเจ้า และพบว่าการพัฒนาศีล สมาธิ ปัญญา คือการพัฒนาความประพฤติ จิตใจ และปัญญา ซึ่งเป็นรากฐานและแหล่งสำคัญของจริยธรรมและความดี ด้วยการรักษาศีล การทำสมาธิ และ การฝึกปัญญา ส่งผลให้เกิดการเพิ่มความรู้ เพิ่มทักษะ และเพิ่มความสามารถในการจัดการ ความประพฤติ จิตใจ และการใช้สติปัญญา ที่ส่งเสริมให้การแสดงออกถึงจริยธรรมทางกายวาจาใจและประพฤติในการดำเนินชีวิตที่บริสุทธิ์โดยไม่ก่อให้เกิดความทุกข์ตามมา
References
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2560 ก). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (เล่มที่ 1). พระวินัยปิฎก เล่มที่ 1 มหาวิภังค์ ภาค 1. (หน้า 28). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2560 ข). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (เล่มที่ 5). พระวินัยปิฎก เล่มที่ 5 มหาวรรค ภาค 2. (หน้า 98-99). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2560 ค). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (เล่มที่ 9). พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 1 ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค (2. สามัญญผลสูตร). (หน้า 78-84). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2560 ง). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (เล่มที่ 12). พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 4 มัชฌิมนิกาย มูลปัญญาสก์ (2. ภิกขุวรรค). (หน้า 131-132). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2560 จ). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (เล่มที่ 13). พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 5 มัชฌิมนิกาย มัชณิมปัณณาสก์ (5. จุฬยมกวรรค). (หน้า 111, 489). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2560 ฉ). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (เล่มที่ 15). พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 7 สังยุตตนิกาย สคาถวรรค. (หน้า 85) กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2560 ช). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (เล่มที่ 19). พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 11 สังยุตตนิกาย มหาวาวรรค (12. สัจจสังยุต). (หน้า 583). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2560 ซ). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (เล่มที่ 20). พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 12 อังคุตตรนิกาย เอก-ทุก-ติกนิบาต (2. ทุติยปัณณาสก์). (หน้า 331). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2560 ฌ). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (เล่มที่ 22). พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 14 อังคุตรนิกาย ปัญจกนิบาต (9. ตติอนาคตภยสูตร). (หน้า 144). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2560 ญ). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (เล่มที่ 26). พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 18 ขุททกนิกาย เถรคาถ (12. ทวาทสกนิบาต). (หน้า 445). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2560 ฎ). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (เล่มที่ 27). พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 19 ขุททกนิกาย ชาดก ภาค 1 (4. จตุกกนิบาต). (หน้า 180). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2560 ฏ). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (เล่มที่ 30). พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 22 ขุททกนิกาย จูฬนิทเทศ (5. มาณวปัญหานิทเทศ 1. อชิตมาณวปัญหานิทเทส). (หน้า 58). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2560 ฐ). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (เล่มที่ 31). พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 23 ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค (1. มหาวรรค). (หน้า 60). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2560 ฑ). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (เล่มที่ 34). พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ 1 ธรรมสังคณีปกรณ์ (1. จิตตุปปทาทกัณฑ์). (หน้า 29). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2560 ฒ). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (เล่มที่ 35). พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ 2 วิภังคปกรณ์ (16. ญาณวิภังค์). (หน้า 503 - 517). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 รังสรรค์ ลีเบี้ยว
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ เป็นความคิดเห็นของผู้นิพนธ์แต่ละท่าน มิใช่เป็นทัศนะและมิใช่ความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการจัดทำวารสาร และ
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์