การถ่ายทอดองค์ความรู้นั้นมีความเกี่ยวข้องกับการถ่ายทอดเทคโนโลยี
คำสำคัญ:
การถ่ายทอดองค์ความรู้, การถ่ายทอดเทคโนโลยี, การจัดการความรู้บทคัดย่อ
บทความฉบับนี้นำเสนอการถ่ายทอดองค์ความรู้นั้นมีความเกี่ยวข้องกับการถ่ายทอดเทคโนโลยี ซึ่งใช้เป็นสื่อกลางในการถ่ายทอดองค์ความรู้ และการถ่ายทอดเทคโนโลยี เข้าสู่ธุรกิจ ในด้านอิเล็กทรอนิกส์ และซอฟต์แวร์ เพื่อนำไปประยุกต์ใช้งานในภาคอุตสาหกรรม ภาคการเกษตร ภาคสังคม ความมั่นคง และด้านสุขภาพ ซึ่งการถ่ายทอดเทคโนโลยี คืองานที่สนับสนุนเพื่อก่อให้เกิดนวัตกรรมทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในประเทศ การดำเนินงานทางด้านการถ่ายทอดเทคโนโลยีและการบริการเป็นการทำให้ผลงานต่าง ๆ ที่ได้รับจากการวิจัยและพัฒนา สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ตลอดจนสามารถตอบสนองได้ตรงตามวัตถุประสงค์ของการทำการวิจัยและพัฒนานั้น ๆ เนคเทคได้สร้างและพัฒนากลไกตลอดจนกระบวนการต่าง ๆ ที่จะช่วยผลักดันให้มีการนำเอาผลงานที่ได้รับจากการวิจัย พัฒนา และวิศวกรรม ออกไปสู่ผู้ใช้ได้อย่างกว้างขวางมากที่สุดเพื่อสนับสนุนการถ่ายทอดเทคโนโลยีให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น โดยความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชนในการถ่ายทอดเทคโนโลยีและการให้บริการ รวมทั้งดำเนินการศึกษาความต้องการของภาคอุตสาหกรรม ภาคการเกษตร ภาคสังคม ความมั่นคง และด้านสุขภาพ ทั้งนี้เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการจัดทำมาตรการ ในการกำหนดแนวทางการสนับสนุนและดำเนินการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีให้สอดคล้องกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรมภาคการเกษตร ภาคสังคม ความมั่นคง และด้านสุขภาพ และผู้ใช้ในประเทศมากที่สุด
References
กนกกร จีนา และอลงกรณ์ คูตระกูล. (2561). กระบวนการถ่ายทอดความรู้จากมหาวิทยาลัยสู่ชุมชน: กรณีศึกษาโครงการอนุรักษ์วิหารพระเจ้าพันองค์วัดปงสนุก จังหวัดลำปาง. วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์. 9(1): 59-80.
กรมส่งเสริมการเกษตร. (2565). แอพพลิเคชั่นเกษตรแทรก (KASETTRACK) ยกระดับคุณภาพทุเรียนตลอดทั้งห่วงโซ่อุปทาน. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://www.doae.go.th (2567, 23 กรกฎาคม).
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2560). การถ่ายทอดเทคโนโลยี. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: การถ่ายทอดเทคโนโลยี (most.go.th). (2567, 1 กรกฎาคม)
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2565). แอพพลิเคชั่น DMIND. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://www.chula.ac.th/highlight/75794. (2567, 27 ตุลาคม)
ณรัฐ ประสุนิงค์. (2558). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสื่อสาร. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://naratcomputereducation.blogspot.com (2559, 1 ธันวาคม)
วนิดา ธนกรกุล. (2561). รูปแบบการถ่ายทอดความรู้สำคัญยิ่งยวดภายในและภายนอกศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก ผ่านนิทรรศการ. วารสาร Mahidol R2R e-Journal. 5(1): 17-29.
ภูมิพลังแห่งปัญญา คลังความรู้มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย. (2564). การจัดการความรู้. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://ks.rmutsv.ac.th/th/whatiskm. (2567, 27 ตุลาคม)
อารยา แสงมหาชัย. (2567). การสร้างธุรกิจเพื่อสังคมในรูปแบบการบำบัดพฤติกรรมของผู้ที่มีภาวะซึมเศร้า โดยใช้แอพพลิเคชั่น "Sati". วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช. 4(1): 10-17.
NECTEC. (2564). Traffy Fondue. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://www.nectec.or.th/innovation/innovation-mobileapplication/application-traffyfondue.html. (2567, 16 กรกฎาคม)
NECTEC. (2564). รู้ทัน: แอปฯสื่อสารความเสี่ยงด้านสุขาภาพ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.nectec.or.th/innovation/innovation-mobileapplication/rootan-2021.html (2567, 23 กรกฎาคม)
NSTDA. (2564). เซนเซอร์-ไอโอทีเทคโนโลยีตัวเร่ง “สมาร์ตฟาร์มเมอร์”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://www.nstda.or.th/home/performance_post/sensor-iot-accelerator-technology-smart-farmer/. (2567, 17 กรกฎาคม)
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 อารยา แสงมหาชัย
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ เป็นความคิดเห็นของผู้นิพนธ์แต่ละท่าน มิใช่เป็นทัศนะและมิใช่ความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการจัดทำวารสาร และ
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์