ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรมของธุรกิจขนส่งและโลจิสติกส์ในประเทศไทย

Main Article Content

ประเสริฐ สิทธิจิรพัฒน์
กิ่งแก้ว พรอภิรักษสกุล

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรม
ของธุรกิจขนส่งและโลจิสติกส์ในประเทศไทย และเพื่อศึกษาอิทธิพลของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรมของธุรกิจขนส่งและโลจิสติกส์ในประเทศไทย ผู้วิจัยกำหนดกลุ่มตัวอย่างในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้บริหารระดับหัวหน้าแผนกขึ้นไปที่ปฏิบัติงานกลุ่มธุรกิจขนส่ง และ โลจิสติกส์ที่จดทะเบียนอยู่ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เท่านั้น จำนวน  300  คน ผู้วิจัยได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูล โดยการรวบรวมแบบสอบถามที่ได้รับทั้งหมด นำมาวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูล โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลในการศึกษาครั้งนี้ มีดังนี้ ค่าความถี่ และค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
และวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณ สำหรับค่านัยสำคัญทางสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์กําหนดไว้ที่ระดับ 0.05         


              ผลการวิจัย พบว่า ระดับของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรมของธุรกิจขนส่ง
และโลจิสติกส์ในประเทศไทย อยู่ในระดับมาก  และปัจจัยด้านเทคโนโลยีดิจิทัล มีอิทธิพลต่อการเป็นองค์กร
แห่งนวัตกรรมของธุรกิจขนส่งและโลจิสติกส์ในประเทศไทย

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Abhari, K., & McGuckin, S. (2023). Limiting factors of open innovation organizations: A case of social product development and research agenda. Technovation, 11(9), 102-526.

Ancillai, C., Sabatini, A., Gatti, M., & Perna, A. (2023). Digital technology and business model innovation: A systematic literature review and future research agenda. Technological Forecasting and Social Change, 18(8), 122-307.

Becker, G. S. 1964. Human Capital: A Theoretical and Empirical Analysis, with Special

Reference to Education. New York: National Bureau of Economic Research.

Charoenkiat,V.C. 2024. The Factors Influencing Organizational Innovation Case Study: Department of Business Development. Master of Science

Program in Digital Business Transformation Major in Digital Policy and Management College of Innovation, Thammasat University.

Nuryanto, U., Basrowi, B., & Quraysin, I. (2024). Big data and IoT adoption in shaping organizational citizenship behavior: The role of innovation organizational predictor in the chemical manufacturing industry. International Journal of Data and Network Science, 8(1), 225-268.

Tirathanachaiyakun.,K. (2020). Factors, causes and consequences of being an innovative organization of small and medium-sized enterprises in Thailand. Faculty of Business Administration Sripatum University.

Teerasakworaku,Ll &Trisirichot,T,. (2021). A Study of Factors Influencing Organizational Innovation in Small and Medium Enterprises (SMEs) in the Service Sector within Bangkok Metropolitan Area. Suan Sunandha Rajabhat University Academic Journal, 7(1),131-147.

Trischler, M. F. G., & Li-Ying, J. (2023). Digital business model innovation: toward construct clarity and future research directions. Review of Managerial Science, 17(1), 3-32.

Ul-Durar, S., Awan, U., Varma, A., Memon, S., & Mention, A. L. (2023). Integrating knowledge management and orientation dynamics for organization transition from eco-innovation to circular economy. Journal of Knowledge Management, 27(8), 2217-2248.