การออกแบบตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์กล้วยหอมทอง: กรณีศึกษาพื้นที่ ต.บึงกาสาม อ.หนองเสือ จ.ปทุมธานี

Main Article Content

วัฒนา อัจฉริยะโพธา
เบญจางค์ เบญจางค์
สินีนาถ สุขทนารักษ์
จุรีมาศ ดีอำมาตย์
เยาวภา สังข์อยู่สุข

บทคัดย่อ

กล้วยหอมทอง (Musa acuminata ‘Gros Michel’, Golden banana) ที่ปลูกในพื้นที่ ต.บึงกาสาม อ.หนองเสือ จ.ปทุมธานี มีการนำมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต้นแบบ การศึกษานี้จึงออกแบบตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์สำหรับผลิตภัณฑ์ ผู้วิจัยทำการเก็บขอมูลกับกลุมตัวอยางโดยใชการสุมตัวอย่างอย่างงายจากนักศึกษา กศน. เกษตรกรปลูกกล้วยหอมทอง กลุมผูบริโภคที่เคยซื้อหรือเคยบริโภคกล้วยหอมทอง และผู้ที่ต้องการหารายได้เพิ่มจากการนำกล้วยหอมทองตกเกรดมาแปรรูป ตราสินคาที่ไดรับการยอมรับมากที่สุดใช้ชื่อผลิตภัณฑ์ “กล้วยๆ บึงกาสาม” การออกแบบบรรจุภัณฑศึกษาความสัมพันธระหว่างสีเปลือกกล้วยและผลิตภัณฑ์ พบว่าเปลือกผลมีสีเหลืองสดอมเขียวใชระบบเทียบสีได้เป็นรหัสสี F6EB14 ผลการประเมินการรับรูและความพึงพอใจตอบรรจุภัณฑ์ ได้แก่ น้ำตาลเกาะไม้ สโคน และแพนเค้กกล้วยหอมทอง ได้คะแนนโดยรวมในระดับมากที่สุด คือ 4.80±0.41, 4.90 ±0.30 และ 4.80±0.41 ตามลำดับ การออกแบบตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์เป็นการสื่อถึงเรื่องเล่าผลิตภัณฑ์และสร้างความจดจำมีความเปนเอกลักษณ์แกผูบริโภคและเปนการยกระดับสินคาเกษตรและเหมาะสําหรับนําไปเป็นของฝากที่จะสรางความประทับใจแกผูรับโดยตราสินคาและบรรจุภัณฑที่ออกแบบนั้นสื่อใหเห็นถึงความเปนผลิตภัณฑ์กล้วยหอมทองจาก ต.บึงกาสาม อ.หนองเสือ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ภาษาไทย

กรมทรัพย์สินทางปัญญา. (2563). ประกาศกรมทรัพย์สินทางปัญญา เรื่อง การขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ กล้วยหอมทองปทุม ทะเบียนเลขที่ สช 63100136.

กระทรวงสาธารณสุข กรมอนามัย สำนักโภชนาการ กลุ่มวิจัยอาหารเพื่อโภชนาการ, (2561). ตารางแสดงคุณค่าทางโภชนาการของอาหารไทย (พิมพ์ครั้งที่ 1, หน้า 45). สำนักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.

ต่อวงศ์ ปุ้ยพันธวงศ์. (2553). กรอบแนวคิดด้านการออกแบบสรางสรรค. สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ.

พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2540). วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 7. สำนักทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ ประสานมิตร.

พหล สง่าเนตร . (2563). การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติสู่ยุค “ฐานวิถีชีวิตใหม่ (New Normal)”ด้วย STAR STEMS. วารสารสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ. 11(2) พฤษภาคม – สิงหาคม. 1-9.

มยุรี ภาคลําเจียก. (2558). รอบรู้บรรจุภัณฑ์. จินดาสาสน์การพิมพ์.

รัชนี คงคาฉุยฉาย และริญ เจริญศิริ. (2558). โภชนาการกับผลไม้. สำนักพิมพ์สารคดี- เมืองโบราณ.

วิทวัส ชัยปาณี. (2548). สรางแบรนดอยางสรางสรรค. สำนักพิมพ์มติชน.

วิรุณ ตั้งเจริญ. (2545). ออกแบบกราฟก. สำนักพิมพ์อีแอนดไอคิว.

ศิภิสรา สิงหภาณพงศ์. (2556). ประโยชน์จากต้นกล้วย. พิมพ์ครั้งที่ 1. สำนักพิมพ์มติชนสมโชค.

อรพิมพ์ สุริยา เฉลิมพล จตุพร พัฒนา สุขประเสริฐ และสุวิสา พัฒนเกียรติ. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการผลิตกล้วยหอมของเกษตรกรในอำเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี. วารสารปัญญาภิวัฒน์ 9(2). 208-218.

อุสุมา พันไพศาล และวารุณี จอมกิติชัย. (2564). การออกแบบตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์เพื่อยกระดับผลสับปะรดห้วยมุ่นโดยใช้ข้อมูลความสัมพันธ์ระหว่างสีเปลือกและรสชาติ. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์. 16(2).

ภาษาอังกฤษ

Creswell, J. W. & Clark, V. P. (2007). Designing and Conducting Mixed Methods Research. Thousand Oaks, C.A.: Sage Publications.

Gylling, H., Plat, J., & Turley, S. (2014). Plant sterols and plant stanols in the management of dyslipidaemia and prevention of cardiovascular disease. Atherosclerosis, 232, 346-60.

Megan, W. (2017). "Benefits and health risks of bananas." Medical News Today. MediLexicon, Intl., 28.

USDA Nutrient database, 2016. Resources on Individual Macronutrients, Phytonutrients, Vitamins and Minerals. Retrieved May 28, 2024, https://www.nal.usda.gov/fnic/professional-and-career-resources-0