กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. (2556). คู่มือหลักเกณฑ์การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. ส่วนส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี สำนักมาตรฐานการบริหารงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. (2549
Main Article Content
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ในการสอนทักษะภาคปฏิบัติรายวิชาเทคโนโลยีพีแอลซี 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการแก้ปัญหาจากการทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) และหลังเรียน (Post-test) ของผู้เรียนจากการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน และ 3) ประเมินความคิดเห็นของนักศึกษาจากการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลอง คือ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์คอมพิวเตอร์ ที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชาเทคโนโลยีพีแอลซี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 16 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ 3) แบบประเมิน วิเคราะห์ข้อมูลด้วย ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test dependent)
ผลการวิจัย พบว่า
1) รูปแบบการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ประกอบด้วยขั้นตอนการสอน 8 ขั้นตอน คือ (1) แบ่งกลุ่มผู้เรียนออกเป็นกลุ่มย่อย (2) อาจารย์ส่งปัญหาให้นักศึกษา (3) นักศึกษาตั้งสมมติฐาน (4) นักศึกษาแยกแยะปัญหา (5) สร้างการเรียนรู้ด้วยตัวเอง ขยายฐานของปัญหาจากความรู้ใหม่ (6) แก้ปัญหา (7) สรุปผล/นำเสนอ (8) ประเมิน
2) นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน โดยรูปแบบการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน โดยรวมสูงกว่าผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
3) การประเมินความคิดเห็นของนักศึกษาเกี่ยวกับโปรแกรม PBL ในภาพรวมอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก (=4.20) ความคิดเห็นของนักศึกษาเกี่ยวกับการวิจารณ์ปัญหา ในภาพรวมอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก ( =4.21) และความคิดเห็นของนักศึกษาเกี่ยวกับการประเมินตนเอง ในภาพรวมอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก ( =4.24)
The objectives of this research were to 1) Development of learning model for student by using Problem-Based Learning (PBL) for teaching practical skills course in Programmable Logic Controller technology (PLC), 2) Compare learning achievement and problem solving ability from pre-test and post-test of learners using problem-based learning, 3) Assessing students of opinions on problem-based learning. The sample ware 16 students, fourth year students of programmable logic controller technology, who enrolled this subject in first semester of academic year 2016. The tool used in this research were 1) lesson plan 2) achievement test and 3) evaluation form. The statistics used for analysis were mean, standard deviation and t-test dependent.
The results of the study: it was found that 1) The development of student using problem-based learning model featuring of 8 steps: (1) Segment students into small groups.
(2) send problem to students (3) hypothesized by students (4) identify problem by students (5) learning by yourself and expansion of the issue of new knowledge (6) resolution (7) results/offer and (8) assessment. 2) Achievement of the students before and after being taught by the problem-based learning were statistically significant different level of .05. 3) The opinions of the students with problem-based learning were overall at a high level ( =4.20), the opinions of the students with solving-problem ability were overall at a high level ( =4.21), and the opinions of the students with self-assessment were overall at a high level ( =4.24).
Article Details
ลิขสิทธิ์บทความวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ห้ามนำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากมหาวิทยาลัยเป็นลายลักษณ์อักษร
ความรับผิดชอบ เนื้อหาต้นฉบับที่ปรากฏในวารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นความรับผิดชอบของผู้นิพนธ์บทความหรือผู้เขียนเอง ทั้งนี้ไม่รวมความผิดพลาดอันเกิดจากเทคนิคการพิมพ์
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.
กัลยา วานิชย์บัญชา. (2540). หลักสถิติ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ยุวดี ภูวชา. (2536). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการจัดการเรียนแบบใช้ปัญหาเป็นหลักสำหรับอาจารย์พยาบาล. ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาการวิจัยและพัฒนา หลักสูตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สุคนธา สมจันทร์. (2546). ผลการฝึกอบรมคณะกรรมการพัฒนาเด็กสังกัดเทศบาลตำบล โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, สาขาการศึกษาปฐมวัย, คณะครุศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Ahmad F.M.A, Mohd A.M.H, and Marizan S. (2005). Problem Based Learning Approach in Programmable Logic Controller, Kolej Universiti Teknikal Kebangsaaan Malaysia.
Bransford, J.D., Brow, A.L. and Coking, R.R. (2000). How People Learn: Brain, Mind, Experience and School, Washington DC, National Academy Press.
Barrows, H.S. (1985). How to Design a Problem-based Curriculum for the Pre-clinical Years, New York, Springfield Publishing.
Barrows, H.S. (2000). Problem-based Learning Applied to Medical Education, Springfield, Illinois, Southern Illinois University School of Medicine.
Wee, K.N.L., Kek, Y.C.M.A. and Mok, J. (2002). PBL Framework Card, Singapore, Temasek Centre for Problem-Based Learning, Temasek Polytechnic.