การพัฒนารูปแบบการบริหารเครือข่ายแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนในเครือข่าย ส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายจังหวัดอุทัยธานี
Main Article Content
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารเครือข่ายแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียน ในเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายจังหวัดอุทัยธานี มี 3 ขั้นตอน คือ 1) การศึกษาสภาพการบริหารเครือข่ายแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนในเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายจังหวัดอุทัยธานี มีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 121 คน 2) การสร้างรูปแบบการบริหารเครือข่ายแบบมีส่วนร่วม โดยใช้เทคนิคการสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 10 คน และ 3) การทดลองใช้รูปแบบ ซึ่งผลการวิจัยพบว่าสภาพการบริหารเครือข่ายโดยภาพรวมมีสภาพที่เป็นจริงอยู่ในระดับปานกลาง (= 3.37) และมีสภาพที่คาดหวังอยู่ในระดับมากที่สุด (= 4.51) รูปแบบการบริหารเครือข่ายแบบมีส่วนร่วมที่พัฒนาขึ้นมีคุณภาพในระดับมาก และผลการทดลองใช้รูปแบบพบว่าโดยภาพรวมกลุ่มผู้ทดลองใช้มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด (= 4.53)
The purpose of this research was the development of participative management system to effective promotion high school cluster at Uthaithani province were divided into 3 phases 1) Studying of participative management system to effective promotion high school cluster at Uthaithani province. The samples consisted with 121 people 2) Constructing the model of participative management system by using a technique based on expert seminars for 10 people and 3) The trial model to findings revealed that conditions of all the participative management system is actually a moderate level (= 3.37) and conditions are expected in the highest level (= 4.51) of participative management system improved quality levels and the results of the trial showed that the overall pattern of the test is satisfied at a highest level (= 4.53).
Article Details
ลิขสิทธิ์บทความวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ห้ามนำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากมหาวิทยาลัยเป็นลายลักษณ์อักษร
ความรับผิดชอบ เนื้อหาต้นฉบับที่ปรากฏในวารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นความรับผิดชอบของผู้นิพนธ์บทความหรือผู้เขียนเอง ทั้งนี้ไม่รวมความผิดพลาดอันเกิดจากเทคนิคการพิมพ์
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). คู่มือการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นนิติบุคคล. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.
_______. (2546). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 พร้อมกฎกระทรวงที่เกี่ยวข้อง และพระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ.2545. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.
กาญจนา แก้วเทพ. (2538). เครื่องมือการทำงานแนววัฒนธรรมชุมชน. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขิการสภาคาทอลิกแห่งประเทศไทยเพื่อการพัฒนา.
เกรียงศักดิ์ เจริญวงค์ศักดิ์. (2545). การจัดการเครือข่าย: กลยุทธ์สำคัญสู่ความสำเร็จของการปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ: ส.เอเชียเพลส.
พนม พงษ์ไพบูลย์. (2541). การศึกษาพื้นฐานเพื่อปวงชน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์การศาสนา.
พระมหาสุทิตย์ อาภากโร. (2547). เครือข่าย: ธรรมชาติ ความรู้ และการจัดการ. กรุงเทพฯ: โครงการเสริมสร้างการเรียนรู้เพื่อชุมชนเป็นสุข (สรส).
พัชรินทร์ จันทาพูน, และ ปิยพงษ์ สุเมตติกุล. (2557). การพัฒนากลยุทธ์การบริหารเครือข่ายความร่วมมือเพื่อการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 42(1), 81–94.
พิสิฐ เทพไกรวัล. (2554). การพัฒนารูปแบบเครือข่ายความร่วมมือเพื่อคุณภาพการจัดการศึกษาในโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็ก. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (บริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น.
ภิรกาญจน์ ไค่นุ่นนา. (2006). การบริหารแบบมีส่วนร่วม.(Online). Accessed 10 May 2006 Available from http://www.thaisouthtoday.com/index.php?
เมตต์ เมตต์การุณ์จิต. (2547). การบริหารจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วม: ประชาชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและราชการ. กรุงเทพฯ: บุ๊ค พอยท์.
ยุพา เวียงกมล อัดโคดดร, และพฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์. (2556). กลยุทธ์การบริหารวิชาการของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานเพื่อส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืน. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 41(3), 38–47.
รุ่ง แก้วแดง. (2543). การจัดการเครือข่าย: กลยุทธ์สำคัญสู่ความสำเร็จของการปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ: ซัคเซส มีเดีย.
รุ่ง แก้วแดง. (2546). โรงเรียนนิติบุคคล. กรุงเทพฯ: วัฒนาพานิช.
ศิริชัย กาญจนวาสี. (2545). สถิติประยุกต์สำหรับการวิจัย . (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศิริพร ตันติยมาศ. (2550). รูปแบบการบริหารเครือข่ายโรงเรียนแบบมีส่วนร่วมที่มีประสิทธิผล สังกัดกรุงเทพมหานคร. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยศิลปากร, นครปฐม.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2545). แผนการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2545 – 2549: ฉบับสรุป. กรุงเทพฯ: สกศ.
หน่วยศึกษานิเทศก์. (2547). การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา: ระบบเครือข่ายโรงเรียน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจำกัด.
อรรณพ พงษ์วาท. (2545). รูปแบบการบริหารและการจัดการศึกษาของโรงเรียนเครือข่าย. (ม.ป.ท.) (อัดสำเนา).
Anthony, W.P. (1978). Participative Management. Manila, Philippines: Addison Wesley Publishing Company.
Davis, Keith. and John W. Newstrom. (1989). Human Behavior at Work: Organizational. 8th ed. Tnternational Student Edition. New York: Mc Graw – Hill Book Company.
House, R.J. and A.C. Filley, and S. Kerr. (1976). Managerial Process and Organizational Behavior. Illinois: Scott, Foresman and Company.
Sashkin, M. (1987). A manager’s guide to participative management. New York: AMA. Membership Publication Division.
Swansburg, R. (1996). Management and Leadership for Nurse Management. Boston: Jones and Bartlett.