ความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษา
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
ความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผลทำให้การบริหารงานในสถานศึกษาสำเร็จตามวิสัยทัศน์ในการบริหารสถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ บทความนี้เสนอความพึงพอใจที่มีในการปฏิบัติหน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษา ความพึงพอใจหมายถึง สภาวะทางอารมณ์ของบุคคลเมื่อได้รับการตอบสนองความต้องการตามความคาดหวัง ความพึงพอใจในงานเป็นทัศนคติของผู้ปฏิบัติงานที่มีต่องานที่เขากระทำ ซึ่งแสดงออกมาเป็นความชอบหรือความไม่ ชอบคุณลักษณะของงาน ในรางวัลที่ได้รับจากการทำงาน และในสภาพแวดล้อมของการทำงาน ซึ่งช่วยส่งเสริมให้ เกิดการปฏิบัติงานที่มีคุณภาพ และความร่วมมือร่วมใจ ระบบงานดำเนินไปด้วยความราบรื่นเรียบร้อย มี บรรยากาศในการทำงานที่ดี และภาพลักษณ์ที่น่าประทับใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้รับบริการเกิดความพึงพอใจ การประเมินความพึงพอใจในงานเป็นการประเมินความรู้สึก ความคิด และพฤติกรรม สามารถประเมินได้ด้วย วิธีการสังเกต การสัมภาษณ์ และการสอบถาม ที่นิยมคือใช้แบบสอบถามที่สร้างขึ้นอย่างรอบคอบและอย่าง ถูกต้องเหมาะสมตามทฤษฎีของการวัดผล ประเมินผลและแปลผล เพื่อการนำไปใช้ประโยชน์ในการ ดำเนินงานตามความต้องการต่อไป
Article Details
References
เติมศักดิ์ คทวณิช.(2546).จิตวิทยาทั่วไป.กรุงเทพฯ:ซีเอ็ดยูเคชั่น.
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 7
ราณี เชาวนปรีชา. (2538). ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการที่สถานี อนามัยขนาดใหญ่ จังหวัดอุตรดิตถ์.วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเวชศาสตร์ ป้องกันและสังคม,บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
รมย์ชลี สุวรรณชัยรักษ์.(2550).ความพึงพอใจในการทำงานของพนักงานธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) จังหวัดลำปาง.ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการทั่วไป มหาวิทยาลัยราช
ภัฏลำปาง.
วิรุฬ พรรณเทวี.(2542).ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของหน่วยงานกระทรวงมหาดไทยในอำเภอเมืองจังหวัดแม่ฮ่องสอน. วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต,สาขาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย,มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สาโรช ไสยสมบัติ. (2534). ความพึงพอใจในการทำงานของครูอาจารยโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดร้อยเอ็ด .วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย , มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ มหาสารคาม.
สุนันทา เลาหนันท์.(2551). การสร้างทีมงาน.พิมพ์ ครั้งที่4. กรุงเทพฯ: แฮนด์ เมดสติกเกอร์แอนด์ ดีไซน์.
สุริยะ วิริยะสวัสดิ์.(2530).พฤติกรรมการให้บริการของเจ้าหน้าที่องค์กรราชการกับปัจจัยสภาพแวดล้อมในเขตเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์.
ค้นเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2564,จากhttps://dric.nrct.go.th/index.php?/Search/SearchDetail/25837
อรรถพร คำคม.(2546).การให้บริการสินเชื่อของธนาคารอาคารสงเคราะห์ : ศึกษาจากความคิดเห็นของผู้ใช้บริการฝ่ายกิจการสาขากรุงเทพและปริมณฑล.วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์,บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ .
อเนก สุวรรณบัณฑิต และภาสกร อดุลพัฒนกิจ . (2548). จิตวิทยาการบริการ(Service Psychology Comprehension Strategies and Trend). กรุงเทพฯ : เพรส แอนด์ดีไซน์.