แรงจูงใจและความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการครู

Main Article Content

วิไล พรมดาว

บทคัดย่อ

แรงจูงใจและความพึงพอใจเป็นสิ่งที่ทุกคนหวังที่จะได้รับการสนองตามความต้องการของตนเอง  โดยบทความนี้ได้นำเสนอแนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับ ความหมายของแรงจูงใจ องค์ประกอบของแรงจูงใจ ประเภทของแรงจูงใจ ประโยชน์ของแรงจูงใจ  ความหมายของความพึงพอใจ องค์ประกอบที่ทำให้เกิดความพึงพอใจ ทฤษฎีความพึงพอใจ การวัดความพึงพอใจ และบทสรุป ซึ่งประเด็นทั้งหมดนี้มีส่วนเกี่ยวข้องผู้บริหารสถานศึกษาและนักการศึกษา ที่ควรจะทำการศึกษาเพื่อที่จะได้มีความรู้ความเข้าใจ สามารถนำองค์รู้ไปใช้ในการบริหารจัดการกับองค์กรเพื่อให้ข้าราชการครูในสถานศึกษาเกิดแรงจูงใจและเกิดความพึงพอใจในการทำงาน

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กมลพร เอกอมรธนกุล. (2555). ความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนที่มีต่อการจัดการศึกษาของสถานศึกษาเบบี้ จีเนียส กรณีศึกษา : สาขาพาราไดซ์พาร์ค. วิทยานิพนธ์หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการพัฒนาสังคม) คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
กลุ่มอำนวยการ. (2562). การศึกษาความพึงพอใจของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการบริหารงานและการจัดการของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1. กลุ่มอำนวยการ สพป.มหาสารคาม เขต 1.
ชัยณรงค์ ใจเกลี้ยง. (2559). แรงจูงใจและความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการครูสังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 13 จังหวัดกระบี่. วิทยานิพนธ์หลักสูตรครุ ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต.
รังสิมา ฉิมเรือง. (2560). ความพึงพอใจของข้าราชการครูต่อการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษา ในโรงเรียนขนาดใหญ่สำนักเขตสวนหลวงกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
หนูคิด ภูน้ำสี. (2558). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนประถมศึกษาเครือข่ายกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 2. วิทยานิพนธ์หลักสูตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหาร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.