จิตสาธารณะเชิงพุทธบูรณาการ: รูปแบบการพัฒนาเชิงระบบ

Main Article Content

บุญจักรวาล รอดบำเรอ
วรวิทย์ กุลจิรกาญจน์
ธีร์ ภวังคนันท์
สุรพล ทับทิมหิน
ทินกร ภาคนาม

บทคัดย่อ

จิตสาธารณะเชิงพุทธบูรณาการเป็นพฤติกรรมการเห็นแก่ผลประโยชน์ของส่วนรวมโดยงดเว้นกระทำให้ทรัพย์สินส่วนรวมเสียหาย มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาทรัพย์สินส่วนรวม การเคารพสิทธิของบุคคลอื่นในการใช้ทรัพย์สินร่วมกันโดยมุ่งเน้นการให้ การไม่เบียดเบียน และการมุ่งประโยชน์ร่วมกันที่ผสมผสานหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาในการปฏิบัติ ได้แก่ หลักสังคหวัตถุ 4 พรหมวิหาร 4 ไตรสิกขา และหลักการสงเคราะห์ตามแนวพระพุทธศาสนา มีรูปแบบการพัฒนาเชิงระบบ 6 ระยะ ได้แก่ การเตรียมการ  การประเมินก่อนดำเนินการ การพัฒนา  การฝึกปฏิบัติ การประเมินผลหลังดำเนินการ และการวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน

Article Details

How to Cite
รอดบำเรอ บ., กุลจิรกาญจน์ ว., ภวังคนันท์ ธ., ทับทิมหิน ส., & ภาคนาม ท. (2022). จิตสาธารณะเชิงพุทธบูรณาการ: รูปแบบการพัฒนาเชิงระบบ. วารสารครุศาสตร์ปัญญา, 1(3), 53–65. สืบค้น จาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/IEJ/article/view/263087
บท
บทความเทคนิค

References

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2546). โครงการวิจัยคุณลักษณะสำคัญของคนไทยที่พึงประสงค์ตามแต่ละช่วงวัย: รายงานผลการศึกษา. เอกสารประกอบการประชุมเรื่องยุทธศาสตร์ของสังคมไทยในการสร้างวิถีการเรียนรู้. วันอังคารที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2546 ณ ห้องกมลทิพย์ โรงแรมสยามซิตี้. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2543). จอมปราชญ์นักศึกษา : สังเคราะห์ วิเคราะห์ และประยุกต์แนวพระราชดำรัสด้าน การศึกษาและการพัฒนาคน. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ: ซัคเซสมีเดีย.

ชาย โพธิสิตา. (2546). จิตสำนึกต่อสาธารณสมบัติ : แนวคิดทางสังคมและนัยเชิงนโยบาย. วารสารราชบัณฑิตยสถาน 28 (เมษายน-มิถุนายน): 431-448.

ชาย โพธิสิตาและคณะ. (2543). รายงานการวิจัยเรื่องการศึกษาจิตสำนึกของคนไทยต่อสาธารณสมบัติ : กรณีศึกษา. กรุงเทพมหานคร. นครปฐม : สถาบันวิจัยประชากรและสังคมมหาวิทยาลัยมหิดล.

ปฐมมณีโรจน์. (2558). สาธารณะเรื่องง่ายที่เข้าใจยาก. http://www.rsunews.net/Think%20Tank/ TT34/Public.htm

พระธรรมปิฎก. (2558). เด็กนักเรียนยกพวกตีกันเพราะคิดสั้นขาจิตสำนึกต่อส่วนรวม. http://www.budpage. com/b68.shtml.

พระธรรมปิฎก. (2559). เด็กนักเรียนยกพวกตีกัน เพราะคิดสั้นขาจิตสำนึกต่อส่วนรวม. http://www.budpage.com/ba68.shtml

พระพรหมคุณาภรณ์. (2548). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลธรรม. กรุงเทพฯ : บริษัทเอส. อาร์. พริ้นติ้งแมสโปรดักส์.

พระไพศาลวิสาโล. (2544). วิถีสังคมไทยชุดที่4ประชาสังคมและวัฒนธรรมชุมชน. กรุงเทพมหานคร : เรือนแก้วการพิมพ์.

ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2540). อุดมศึกษา. กรุงเทพฯ: ภาควิชาอุดมศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ว.วชิรเมธี. (2554). เธอคือโพธิสัตว์. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.

วิชัย วงษ์หญ่. (2554). นวัตกรรมหลักสูตรและการเรียนรู้สู่ความเป็นพลเมือง. กรุงเทพฯ : อาร์ แอนด์ ปริ้นซ์.

วิชัย วงษ์ใหญ่. (2554). นวัตกรรมหลักสูตรและการเรียนรู้สู่ความเป็นพลเมือง. กรุงเทพฯ: อาร์แอนด์ปริ้น,

สัมฤทธิ์ กางเพ็ง. (2552). การพัฒนารูปแบบการเพิ่มประสิทธิภาพการทำวิจัยในชั้นเรียนของครูในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาขอนแก่น เขต 1: กรณีศึกษาโรงเรียนบ้านหนองกุงวิทยาคาร. ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา.

สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2548). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ : คุรุสภาพลาดพร้าว.

Chi, Ti-Nan. (1998). Disappearance of Politics. Tokyo: Tangible intangible Garden City publication.

Kraft. F.N. (1992). Nurturing Social Consciousness Through Church Education. Dissertation Abstracts International.

Oslon, A., Blekher, L., Chesnokova,V. (1999). Public consciousness. http://old.russ.ru/ds/english.htm

Raj, Madhu. (1996). Encyclopedic Dictionary of Psychology and Education. Volume 3 (M-Z) New Delhi : ANMOL Publications PVT.

Sills, D.L. (1972). Leadership International Encyclopedia of the Social Sciences. New York. The Macmillan & The Free Press.