รายงานการประเมินโครงการส่งเสริมศักยภาพผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศทางด้านทักษะคอมพิวเตอร์ ประเภทซอฟต์แวร์ (Coding) โรงเรียนบ้านเขาหินซ้อน (พัฒนาการภาคตะวันออก)
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินโครงการ ศึกษาผลการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ และศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนตลอดจนศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน ผู้ปกครองต่อโครงการส่งเสริมศักยภาพผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศทางด้านทักษะคอมพิวเตอร์ ประเภทซอฟต์แวร์ (Coding) โรงเรียนบ้านเขาหินซ้อน (พัฒนาการภาคตะวันออก) เป็นการศึกษาวิจัยโดยใช้รูปแบบการประเมิน CIPPIEST ผลการประเมิน พบว่า ความคิดเห็นของผู้บริหาร ครูและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ผลการประเมินกิจกรรมตามโครงการโดยรวมมีผลการประเมินอยู่ในระดับมากที่สุด และนักเรียนมีความคิดเห็นต่อการดำเนินโครงการเกี่ยวกับคุณค่าและประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ โดยรวมอยู่ในระดับมาก นักเรียนและผู้ปกครองมีความพึงพอใจต่อการดำเนินงานโครงการส่งเสริมศักยภาพผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศทางด้านทักษะคอมพิวเตอร์ ประเภทซอฟต์แวร์ (Coding) โรงเรียนบ้านเขาหินซ้อน (พัฒนาการภาคตะวันออก) โดยรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
Article Details
References
กลุ่มพัฒนาการศึกษาสำนักงานศึกษาธิการภาค 8. (2563). รายงานวิจัยโครงการศึกษาแนวทาง
การจัดการเรียนการสอนโค้ดดิ้ง (Coding). กลุ่มพัฒนาการศึกษาสำนักงานศึกษาธิการ
ภาค 8.
กิ่งแก้ว มะนะสิม. (2559). การประเมินโครงการการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการเป็นภาษาอังกฤษ (English Program) ของโรงเรียนปทุมวิทยาคารจังหวัดหนองคาย. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัย
และประเมินผลการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม.
จักรพงศ์ แถลงกันณ์. (2565). การประเมินโครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติดและอบายมุข โรงเรียนสันติวิทยาสรรพ์. วารสารครุศาสตร์ปัญญา, 1(5), 15-27.
ชนัญชิดา คุณสุทธิ์. (2563). การประเมินโครงการส่งเสริมคุณธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์
ของนักเรียนโรงเรียนนิคมพัฒนา 5 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 ปีการศึกษา 2563.
ชลิตา ธัญญะคุปต์. (2564). วิทยาการคำนวณ: วิชาบังคับสำหรับนักเรียนไทย. https://www.scimath.org/article-technology/item/12351-2021-07-01-05-42-38
แทน โมราราย. (2561). การประเมินโครงการส่งเสริมการสร้างและพัฒนานวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์ของผู้เรียน วิทยาลัยเทคนิคนครสวรรณ์.
น้ำค้าง ศรีวัฒนาโรทัย. (2562). การพัฒนาหลักสูตรสำหรับการอบรมออนไลน์ ในโครงการ Coding Thailand https://op.mahidol.ac.th/ra/2019/08/26/il_2562-01/
ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2553). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพฯ : ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพฯ.
พิชชากร เสียงล้ำ. การศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน Coding
แบบ Unplugged สำหรับครูผู้สอนวิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้าน
หว้านใหญ่. [ออนไลน์]. เข้าถึงข้อมูลวันที่ 25 มีนาคม 2563. จาก https://www.mdh.go.th/news_file/p77056332118.pdf
พิชัย อันปัญญา. (2553). การประเมินโครงการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์
ของนักเรียนโรงเรียนเทศบาลส่องนางใย [ออนไลน์]. เข้าถึงข้อมูลวันที่ 30 กรกฎาคม 2561. จาก http://www.kroobannok.com/ board_view.php?b_id=7784&bcat_id=16.
พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2557). เทคนิคการประเมินโครงการ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : บริษัท เฮ้าส์ ออฟ เคอร์มิสท์ จำกัด.
พิยะภา ใจซื่อสมบูรณ์. (2563). การประเมินโครงการโรงเรียนวิถีพุทธของโรงเรียนวัดใหญ่บ้านบ่อ
(บ้านบ่อราษฎรบำรุง). หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
มหาวิทยาลัยศิลปากร.
รัตนะ บัวสนธ์. (2556). การประเมินโครงการ : การวิจัยเชิงปริมาณ. กรุงเทพฯ : คอมแพคปริ๊น.
รัตนะ บัวสนธ์. (2556). รูปแบบการประเมิน CIPP และCIPPIEST มโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนและถูกต้องในการใช้. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย, 5(2), 7-24.
รำไพ แสงกุล. (2559). การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย : กรณีศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญา
ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัย และประเมินผลการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎ
มหาสารคาม.
วิเชียร ชุติมาสกุล. (2559). รายงานการประเมินโครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติดและอบายมุข โรงเรียนชิโนรสวิทยาลัย. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1.
วิทวัฒน์ บูระพันธ์. (2562). การประเมินโครงการห้องเรียนพิเศษ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนราชินิตมัธยม โดยใช้การประเมินแบบซิปป์ (CIPP Model). วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัย และประเมินผลการศึกษา มหาวิทยาลัย
ราชภัฎมหาสารคาม.
วิไลกุล บุญช่วยสุข. (2559). การประเมินโครงการเกษตรเศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียน กรณีศึกษาโรงเรียนเลิศปัญญา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3. หลักสูตรปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัย และประเมินผลการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร.
วีระพงษ์ พิมพ์สาร. (2561). การประเมินประสิทธิภาพของหลักสูตรสิ่งแวดล้อมศึกษา เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (Eco School) ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตประเวศ กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดล้อม) สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร์.
ศิวพร นววงศานันต์. (2560). การประเมินโครงการยกระดับผลการสอบทางการศึกษาระดับ
ขั้นพื้นฐาน (O-Net) ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 2. วิทยานิพนธ์หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัย วัดผลและสถิติการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา.
ศุภโชค เข่งแก้ว. (2565). การประเมินโครงการพัฒนาศักยภาพผู้เรียนด้านเทคโนโลยีโรงเรียนศรีเทพประชาสรรค์. วารสารครุศาสตร์ปัญญา, 1(5), 44-54.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.). (2560). คู่มือการใช้หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. https://www.scimath.org/e-books/8380/8380.pdf
สฤษดิ์ วิวาสุขุ. (2562). รายงานการประเมินโครงการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนจอมพระประชาสรรค์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33. http://research.otepc.go.th/files/%E0%B8%89%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%9A%E0%B8%B9%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B9%8C_rp0exudd.pdf
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2564). แนวทางการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนวิทยาการคำนวณ Coding เพื่อพัฒนาทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: 21 เซ็นจูรี.
Stufflebeam and Shinkfield. (2007). Evaluation Theory, Models and Applications. John Wiley and Son, Ine.
Stufflebeam, D. L., & Coryn, C. L. S. (2014). Evaluation: Theory, models and applications. (2nd eds.). San Francisco: Jossey-Bass.
Stufflebeam, Gulickson and Wingate. (2002). The Spirit of Consuelo: An Evaluation of Ke Aka Hoona. The Evaluation Center, Western Michigan University.