แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำแบบใฝ่บริการสำหรับผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาขอนแก่น

Main Article Content

Songrit Kaewprom
Saowanee Sirisooksilp
Parnpitcha Kanjug

Abstract

The research aimed: 1) to the current state, desired state, and needs for developing servant leadership among secondary school administrators, and 2) to guidelines for developing servant leadership for secondary school administrators under the Secondary Educational Service Area Office Khon Kaen. The research was conducted in two phases. Phase 1 involved studying the current situation, desired conditions, and development needs for servant leadership using a 5-level Likert scale questionnaire with a sample group of 344 individuals. The data was analyzed using mean, standard deviation, and Priority Needs Index (PNImodified). Phase 2 focused on studying the development guidelines for servant leadership and evaluating their appropriateness, feasibility, and utility through interviews and evaluation forms. The data was analyzed using mean and standard deviation. The research findings revealed that: 1) the overall current situation was moderate, while the desired conditions were at the highest level. The identified needs for development were in building a work culture (PNImodified = 0.57), fostering personal growth (PNImodified = 0.54), fostering empathy and understanding of others (PNImodified = 0.45), having a global perspective (PNImodified = 0.43), and being open to feedback from others (PNImodified = 0.37), in that order. 2) The guidelines for developing servant leadership for secondary school administrators under the Secondary Educational Service Area Office Khon Kaen included: 1) reviewing the shared vision and goals, 2) creating an academic and collaborative culture, 3) supporting staff in increasing knowledge and professional advancement, 4) analyzing organizational problems systematically through staff collaboration, and 5) being open-minded and receptive to others' feedback. The overall assessment of the appropriateness, feasibility, and utility of these guidelines was at the highest level.

Article Details

How to Cite
Kaewprom, S. ., Sirisooksilp, S. ., & Kanjug, P. (2024). แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำแบบใฝ่บริการสำหรับผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาขอนแก่น. Journal of Intellect Education, 3(3), 33–44. Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/IEJ/article/view/276139
Section
Research Article

References

แก้วตา ผู้พัฒนพงศ์. (2556). การจัดการและพฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

จิรวรรณ เล่งพานิชย์. (2554). โมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นาแบบใฝ่บริการของ ผู้บริหารสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์ ปร.ด. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ชนิตวสรณ์ ตรีทยาภูมิ. (2564). ศาสตร์การนิเทศการสอนและการโค้ช การพัฒนาวิชาชีพ : ทฤษฎี กลยุทธ์สู่การปฏิบัติ. กรงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร.

เทียนชัย ไชยเศรษฐ. (2552). “ค่านิยมคืออะไรและสําคัญอย่างไร.” Spirit บ้านเรา. ปีที่ 25 ฉบับที่ 475.

บังอร ไชยเผือก. (2550). การศึกษาคุณลักษณะของผู้นำแบบผู้รับใช้และบรรยากาศของโรงเรียนคาทอลิก สังกัดคณะภคินีพระกุมารเยซู. สารนิพนธ์ กศ.ม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ปัทมาพร ศรีกําพล. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นําแบบผู้รับใช้ของผู้บริหารสถานศึกษาวัฒนธรรมองค์การกับประสิทธิผลของโรงเรียนเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 2. วิทยานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต, การบริหารการศึกษา, คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา.

ยุภา นารินนท์. (2563). ผู้นำท้องถิ่นกับการสื่อสาร. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มมร.วิทยาเขตอีสาน. 1(3), 38-44

วงศกร สิงหวรวงศ์. (2561). กระบวนการสื่อสาร และปัจจัยการสื่อสารที่มีผลต่อกระบวนการตัดสินใจ. วิทยานิพนธ์หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

วิโรจน์ สารรัตนะ.(2556). กระบวนทัศน์ใหม่ทางการศึกษา กรณีทัศนะต่อการศึกษาศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : ทิพยวิสุทธิ์.

สัมฤทธิ์ กางเพ็ง และ สรายุทธ กันหลง. (2563). ภาวะผู้นําใฝ่บริการในองค์การ : แนวคิด. หลักการทฤษฎี และงานวิจัย. ขอนแก่น : คลังนานาวิทยา.

สัมฤทธิ์ กางเพ็ง. (2563). ภาวะผู้นำแบบใฝ่บริการของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อความมุ่งมั่นในการทำงานของครู. มหาสารคาม: อภิชาติการพิมพ์.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3). พ.ศ.2553.กรุงเทพฯ: สํานักนายกรัฐมนตรี.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2555). มัธยมศึกษายุคใหม่สู่มาตรฐานสากล 2561. กรุงเทพฯ: ผู้พิมพ์.

สุวิมล ว่องวาณิช. (2562). การวิจัยประเมินความต้องการจำเป็น. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

องอาจ สิมเสน. (2556). ภาวะผู้นำใฝ่บริการของผู้บริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

อนุวัต กระสังข์. (2560). ทฤษฎีภาวะผู้นำใฝ่บริการ : ทิศทางการบริหารจัดการขององค์การในอนาคต,วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ ฉบับภาษาไทย, 6(4), 112-126.

อภิชาติ อนันตภักดิ์. (2558). ภาวะผู้นำแบบผู้รับใช้ของผู้บริหารโรงเรียนที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์กรของข้าราชการครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา) คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

Greenleaf, R.K. (2002). Servant Leadership: A Journey into the Nature of Legitimate Power and Greatness. NJ: Paulist Press.

Hunter, E.M., Neubert, M.J., Perry, S.J., Witt, L.A. Penney, L.M., and Weinberger, E. (2013). Servant Leaders Inspire Servant Followers: Antecedents and Outcomes for Employees and the Organization. Leadership Quarterly, 24, 316–331.

Page, D., & Wong, T. P. (1998). A Conceptual Framework for Measuring Servant Leadership. Unpublished Manuscript Langley, Canada: Trinity Western University.

Parris, D. L., and Peachey, J. W. (2013). A Systematic Literature Review of Servant Leadership Theory in Organizational Contexts. Journal of Business Ethics, 113(3), 377–393.

Russell, R. F., and Stone, A. G. (2002). A Review of Servant Leadership Attributes: Developing a Practical Model. Leadership and Organization Development Journal, 23(3), 145–157.

Spears, L. C. & Lawrence, M. (Eds.). (2002). Focus on Leadership: Servant leadership for the 21st century. New York: John Wiley & Sons.

Spears, L. C. (2004). The Understanding and Practice of Servant Leadership. In L.C. Spears, & M. Lawrence (Eds), Practicing servant leadership: Succeeding.

van Dierendonck, D. (2011). Servant Leadership: A Review and Synthesis. Journal of Management, 37(4), 1228–1261.

Winston, B. E., and Fields, D. (2015). Seeking and Measuring the Essential Behaviors of Servant Leadership. Leadership and Organization Development Journal, 36(4), 413–434.

Wong, P. T. P. & Davey, M. A. (2007). Best Practice in Servant Leadership. http://www.regent.edu/ecad/global/publications/sl_proceeding/2007 /pdf/wong-davey.pdf