สภาพปัญหาและความต้องการใช้งานแหล่งเรียนรู้สมัยใหม่ในยุคดิจิทัล สำหรับผู้เรียนในวัยแรงงาน

ผู้แต่ง

  • ปรัชญนันท์ นิลสุข ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยีและสารสนเทศ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
  • ปณิตา วรรณพิรุณ ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยีและสารสนเทศ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
  • วิษณุ นิตยธรรมกุล ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยีและสารสนเทศ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
  • อนุชิต อนุพันธ์ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

คำสำคัญ:

แหล่งเรียนรู้, ยุคดิจิทัล, ผู้เรียนวัยแรงงาน

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการใช้งานแหล่งเรียนรู้สมัยใหม่ในยุคดิจิทัลสำหรับผู้เรียนในวัยแรงงาน ผู้วิจัยได้ใช้วิธีการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) และค่าร้อยละ (Percentage) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้เรียนในวัยแรงงานในระบบ จำนวน 600 คน และผู้เรียนในวัยแรงงานนอกระบบ จำนวน 300 คน ผลการวิจัยพบว่า ความต้องการแหล่งเรียนรู้สมัยใหม่ในยุคดิจิทัลที่เหมาะสมกับผู้เรียนในวัยแรงงานในระบบและแรงงานนอกระบบ ได้แก่ 1) แหล่งการเรียนรู้สมัยใหม่ที่ไม่เสียค่าใช้จ่าย 2) สื่อนำเสนอที่อยู่ในรูปแบบวิดีโอ และ 3) แหล่งการเรียนรู้ที่จัดทำเป็นเว็บไซต์

References

Gerdruang, A., 2017, “Empowering Learning in the 21st Century for Thailand Society in the Digital Age”, LAMPANG RAJABHAT UNIVERSITY, Vol.6, No. 1, pp.173-184.

Ministry of Digital Economy and Society, 2016, Thailand Digital Economy and Society Development Plan, Retrieved [Online], Available: https://onde.go.th/assets/portals/1/files/DE-EN%20BOOK%20FINAL.pdf, [19 September, 2018].

Janpirom, N., et al., 2019, “EDUCATIONAL TECHNOLOGY WITHIN THAILAND 4.0”, Panyapiwat Journal, Vol. 11, No.1, pp. 304-314.

Prachyapruit, A., 2017, “Learning Space Design for Higher Education Institutions In the 21st Century”, Dusit Thani College Journal, Vol.11,No. 2, pp. 379-392.

Rovinelli, R. J., & Hambleton, R. K., 1977, “On the use of content specialists in the assessment of criterion-referenced test Item validity”, Dutch Journal of Educational Research, Vol.2, pp. 49-60.

Kaewkiriya, T., 2015, “Design and Development of M-learning Content Based on Game Multimedia for iOS and Android”, ROMPHRUEK JOURNAL, Vol. 33, No.1, pp. 119-135.

Viriyavorakul, P. & Phonak, D., 2014, “Google Apps for Education an Educational Innovation in Digital Age”, SDU Res. J., Vol. 7, No.3, pp. 103-111.

Karo, D., 2018, “The Applying of Google for Education for Mentoring to Teacher Students”, Journal of Information and Learning, Vol 29, No. 2, pp. 219-227.

Sittiwong, T., 2015, “The study of undergraduate students Opinion towards the use of Facebook in Graphics Design and Production for Education in Field of Educational Communications and Technology Faculty of EducationNaresuan University”, JOURNAL OF EDUCATION NARESUAN UNIVERSITY, Vol. 17, No.3, pp. 82-88.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-08-10