การพัฒนาชุดสื่อประชาสัมพันธ์แบบมีปฏิสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก วิทยาลัยพณิชยการเชตุพน
คำสำคัญ:
การพัฒนาชุดสื่อประชาสัมพันธ์, แบบมีปฏิสัมพันธ์, ส่งเสริมภาพลักษณ์, แผนกวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก, วิทยาลัยพณิชยการเชตุพนบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาและประเมินคุณภาพชุดสื่อประชาสัมพันธ์แบบมีปฏิสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก วิทยาลัยพณิชยการเชตุพน และ 2) เพื่อประเมินผลการรับรู้และเพื่อประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อชุดสื่อประชาสัมพันธ์แบบมีปฏิสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก วิทยาลัยพณิชยการเชตุพน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย แบบประเมินคุณภาพด้านเนื้อหาและด้านสื่อการนำเสนอ แบบประเมินการรับรู้ และแบบประเมินความพึงพอใจ โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ดำเนินการโดยใช้วิธีเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 30 คน จากนักเรียนในรายวิชาการสร้างงานโมชันกราฟิก ที่ยินดีตอบแบบสอบถาม ซึ่งผลจากการประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาและด้านสื่อ รวมจำนวน 6 ท่าน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า มีผลการประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญพบว่ามีผลการประเมินคุณภาพด้านเนื้อหา อยู่ในระดับดีมาก (= 4.78, S.D. = 0.58) ผลการประเมินคุณภาพด้านสื่อการนำเสนอ อยู่ในระดับดี (= 4.22, S.D. = 0.38)ผลการประเมินการรับรู้ของกลุ่มตัวอย่าง อยู่ในระดับมากที่สุด (= 4.60, S.D. = 0.80) และผลการประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างอยู่ในระดับมากที่สุด (= 4.64, S.D. = 0.67) ดังนั้นชุดสื่อประชาสัมพันธ์แบบมีปฏิสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก วิทยาลัยพณิชยการเชตุ สามารถนำไปใช้งานได้จริงอย่างมีคุณภาพ
References
สุภัค ถาวรนิติกุล, 2557, การศึกษาแนวทางเพื่อพัฒนาสื่อประชาสัมพันธ์ของคณะเกษตร กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน, วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, ปีที่ 7, ฉบับที่ 2, เดือนพฤษภาคม – สิงหาคม 2557, หน้า 1137-1138.
. ทิพยาวดี ประภาวิชา พรรษา เอกพรประสิทธิ์ และเสกสรรค์ แย้มพินิจ, การส่งเสริมภาพลักษณ์สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย โดยใช้ชุดสื่อประชาสัมพันธ์ ร่วมกับกระบวนการสื่อสารภาพลักษณ์, วารสารกลุ่มมนุษยศาสตร์ – สังคมศาสตร์, ปีที่ 11, ฉบับที่ 1 เดือน มิถุนายน 2561, หน้าบทคัดย่อ.
ณัฐวุฒิ สง่างาม, 2552, กระบวนการสื่อสารภายในองค์กรเกี่ยวกับการดําเนินกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมของ บริษัท ปตท .จํากัด (มหาชน), วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตร์มหาบัณฑิต คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, หน้า 30.
สุริยะกาณฑ์ สุขแก้ว อัญญาดา กัณฑวงศ์ และ ทิพย์หทัย ทองธรรมชาติ, 2564, การพัฒนาสื่อประชาสัมพันธ์กลุ่มผ้าทอปากะญอบ้านมอทะ ตำบลแม่อุสุ อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก, ครั้งที่ 1, หน้า 391.
PUBLIC RELATION, ม.ป.ป., ความหมายของสื่อประชาสัมพันธ์ [Online], Available: https://baanaor.
weebly.com/36273609365636233618360736373656-3.html, [18 กรกฎาคม 2564].
Fastket, 2021, เผยข้อมูลสถิติและพฤติกรรมการใช้งาน Facebook ในปี 2021 [Online], Available: https://www.fastket.co/single-post/เผยข-อม-ลสถ-ต-และพฤต-กรรมการใช-งาน-facebook-ในป-2021, [18 กรกฎาคม 2564].
วิกิพีเดีย, 2564, วิทยาลัยพณิชยการเชตุพน [Online], Available: https://th.wikipedia.org/wiki/วิทยาลัยพณิชยการเชตุพน สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร, [18 กรกฎาคม 2564].
ณัตพร วรคุณพิเศษ, 2556, การพัฒนาสื่อสิ่งพิมพ์เพื่อการประชาสัมพันธ์ภาควิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ [Online], Available: http://ir.swu.ac.th/xmlui/bitstream/handle/123456789/4318/Nattaporn_W.pdf?sequence=2&isAllowed=y, [18 กรกฎาคม 2564].
ประสิทธิ์ สิงหาสิน, 2560, การออกแบบและพัฒนาสื่อประชาสัมพันธ์ เทศกาลรับตะวันใหม่ก่อนใครในสยาม [Online], Available: https://www.ubu.ac.th/web/files_up/30f2019050114405565.pdf, [18 กรกฎาคม 2564].
ประพันธ์ พงษ์กองวงศ์, แนวคิดเรื่อง ADDIE MODEL [Online], Available: http://mcpswis.mcp.ac.th/html_edu/mcp/temp_informed/11163.pdf, [9 กันยายน 2564].
. สุบิน เอกจิตต์, การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เพื่อการชี้นำ เรื่อง การประชาสัมพันธ์แนวทางการศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6, [Online], Available: http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/bitstream/123456789/3481/1/RMUTT-160394.pdf,
ตุลาคม 2564].
อรสา ปานขาว, 2559, การออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพ์เพื่อการประชาสัมพันธ์ [Online], Available: http://www.stou.ac.th/offices/Oce/kmoce1/บันทึกความรู้การออกแบบและผลิตสื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์.pdf, [18 กรกฎาคม 2564].
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารนวัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
จริยธรรมในการตีพิมพ์บทความ
- กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์พิจารณาบทความที่มีรูปแบบและคุณสมบัติที่ครบถ้วนตามข้อกำหนดเท่านั้น หากบทความนั้นไม่ตรงตามข้อกำหนด กองบรรณาธิการฯ มีสิทธิ์ในการปฏิเสธลงตีพิมพ์
- ในการขอหนังสือตอบรับการตีพิมพ์ กองบรรณาธิการฯจะออกให้ในกรณีที่บทความนั้นพร้อมที่จะลงตีพิมพ์โดยไม่มีเงื่อนไขเท่านั้น
- การพิจารณาบทความ (Peer review) ของวารสารนวัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยีถือเป็นที่สิ้นสุด ผลงานวิชาการอาจไม่ได้ลงตีพิมพ์ในเล่มที่กำหนดไว้จนกว่าจะผ่านการพิจารณาบทความ (Peer Review) และพร้อมจะลงตีพิมพ์เผยแพร่แล้วเท่านั้น
- งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับจริยธรรมของการวิจัยในมนุษย์และสัตว์จะต้องผ่านการประเมินโดยกรรมการจริยธรรมของต้นสังกัด
- บทความที่ส่งมาต้องไม่เคยเผยแพร่ในสิ่งพิมพ์อื่นใดมาก่อน และต้องไม่อยู่ในระหว่างการพิจารณาของวารสารอื่น บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร JLIT