สิ่งท้าทายและโอกาสของการเรียนการสอนวิชาเทคโนโลยีการพิมพ์
คำสำคัญ:
การเรียนการสอน, การพิมพ์, เทคโนโลยีอุบัติใหม่บทคัดย่อ
การเปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบันได้มีผลกระทบต่อการเรียนการสอนในวิชาต่าง ๆ อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยเฉพาะในสาขาวิชาการพิมพ์ ที่เนื้อหายังเน้นไปที่กระบวนการผลิตสิ่งพิมพ์ทั่วไปประเภทหนังสือ วารสาร โฆษณาและบรรจุภัณฑ์ เป็นหลัก ในขณะที่ความเป็นจริงมูลค่าของอุตสาหกรรมการพิมพ์ทั้งของโลกและไทยจะมาจากอุตสาหกรรมต่าง ๆ ที่นำเทคโนโลยีการพิมพ์ไปประยุกต์ใช้เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและนำไปใช้งานได้มากกว่า ประกอบกับเทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ช่วยให้กระบวนการผลิตงานพิมพ์มีประสิทธิภาพมากขึ้น อัตโนมัติ คุณภาพสูง และลดต้นทุน รวมทั้งแนวคิดธุรกิจนวัติกรรมและยั่งยืน ซึ่งยังเป็นที่ต้องการของอุตสาหกรรมต่าง ๆ ที่ต้องการองค์ความรู้เหล่านี้เข้าไปช่วย ทำให้บุคลากรที่มีความรู้ความเข้าใจในศาสตร์ผสมดังกล่าวมีความจำเป็นอย่างยิ่ง
References
Wadbring I. and Bergström A., 2017, A Print Crisis or a Local Crisis? Journalism Studies. Vol. 18 (2), 2017, pp.175-190.
Paparozzi A.D., 2022, The Supply Chain Crisis: How Deep, How Printers Are Responding, and Who Is Going to Win. Printing Impressions, USA. URL: https://www.piworld.com/article/supply-chain-crisis-how-printers-are-responding, accessed on 21/8/2023.
Jones E., 2023, Print Publishers Go Digital To Survive The Pandemic. Blog YUDU. URL: https://www.yudu.com/blog, accessed on 5/8/2023.
Top 10 major Printing Industry trends in 2023, URL: https://www.zakeke.com, accessed on 30/9/2023.
Functional Printing Market Size & Share Analysis - Growth Trends & Forecasts (2023 – 2028), URL: https://www.mordorintelligence.com/industry-reports/functional-printing-market, accessed on 5/8/2023.
The Future of Global Printing to 2024, URL: https://www.smithers.com, accessed on 10/5/2023
Jiyong Shim J. (2021), Industrial Revolution and 19th-century printing. URL: https://onstarplus.com, accessed on 5/8/2023.
The Benefits of Digital Printing: Innovation, Efficiency, and Sustainability, 2021, KYOCERA Document Solutions, URL: https://www.kyoceradocumentsolutions.com, accessed on 5/8/2023.
Gamprellis, G., Politis, A., Sofias, I., Tsigonias, A., Vonitsanos, G., Tsigonias, M. and Macro, K.L., 2021, Challenges for the printing industry in the modern digital and meta - pandemic era, Proc. 47th IARIGAI 2021, Athens, Greece, pp. 10-28.
Skobelev, P. O. and Borovik, S. Yu., 2017, On the way from Industry 4.0 to Industry 5.0: from digital manufacturing to digital society, International Scientific Journals, vol. 2(6), pp. 307-311.
Alvarez-Aros, E.L. and BERNAL-TORRES, C.A., 2021, Technological competitiveness and emerging technologies in industry 4.0 and industry 5.0, J. of An Acad Bras Cienc, vol. 93(1), DOI: 10.1590/0001-3765202120191290
Identification of Emerging Technologies and Breakthrough Innovations, 2022, EIC Working Paper Report 1/2022, European Innovation Council, URL: https://eic.ec.europa.eu, accessed on 21/8/2023
รายงานการวิเคราะห์แนวโน้มเทคโนโลยีและอุตสาหกรรม, โครงการพัฒนาผู้ประกอบการด้านทรัพย์สินทางปัญญาและนวัตกรรม โดยสถาบันทรัพย์สินทางปัญญาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ธันวาคม 2560.
ชูกิจ ลิมปิจำนงค์, 2022, 10 Technologies to Watch 2022, ข่าวประชาสัมพันธ์ สวทช., ตุลาคม 2565, แหล่งที่มา https://www.nstda.or.th, เข้าดูเมื่อวันที่ 21/8/2023.
อรัญ หาญสืบสาย, 2566, การปรับเปลี่ยนแนวคิดและกระบวนการผลิตสู่เทคโนโลยีดิจิทัล - กรณีศึกษาสำนักพิมพ์จุฬาฯ, วารสารวันการพิมพ์ไทย, 3 มิถุนายน 2566, หน้า 34-37.
หลักการและแนวคิดการพัฒนาองค์กรสู่ความยั่งยืน, ศูนย์พัฒนาธุรกิจเพื่อความยั่งยืน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, แหล่งที่มา https://www.setsustainability.com, เข้าดูเมื่อวันที่ 21/8/2023.
รู้จัก ‘ESG & SDGs’ 2 แนวคิดสร้างโอกาสและความท้าทายธุรกิจสู่ความยั่งยืน, บทความของธนาคารกรุงเทพ, 11 กุมภาพันธ์ 2565, แหล่งที่มา https://www.bangkokbanksme.com, เข้าดูเมื่อวันที่ 21/8/2023.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารนวัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
จริยธรรมในการตีพิมพ์บทความ
- กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์พิจารณาบทความที่มีรูปแบบและคุณสมบัติที่ครบถ้วนตามข้อกำหนดเท่านั้น หากบทความนั้นไม่ตรงตามข้อกำหนด กองบรรณาธิการฯ มีสิทธิ์ในการปฏิเสธลงตีพิมพ์
- ในการขอหนังสือตอบรับการตีพิมพ์ กองบรรณาธิการฯจะออกให้ในกรณีที่บทความนั้นพร้อมที่จะลงตีพิมพ์โดยไม่มีเงื่อนไขเท่านั้น
- การพิจารณาบทความ (Peer review) ของวารสารนวัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยีถือเป็นที่สิ้นสุด ผลงานวิชาการอาจไม่ได้ลงตีพิมพ์ในเล่มที่กำหนดไว้จนกว่าจะผ่านการพิจารณาบทความ (Peer Review) และพร้อมจะลงตีพิมพ์เผยแพร่แล้วเท่านั้น
- งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับจริยธรรมของการวิจัยในมนุษย์และสัตว์จะต้องผ่านการประเมินโดยกรรมการจริยธรรมของต้นสังกัด
- บทความที่ส่งมาต้องไม่เคยเผยแพร่ในสิ่งพิมพ์อื่นใดมาก่อน และต้องไม่อยู่ในระหว่างการพิจารณาของวารสารอื่น บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร JLIT