การนิเทศการสอนวิทยาศาสตร์

ผู้แต่ง

  • ศิรวิทย์ ปฐมชัยวาลย์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • มาเรียม นิลพันธุ์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • ศิริวรรณ วณิชวัฒนวรชัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

คำสำคัญ:

การนิเทศการสอนวิทยาศาสตร์, แนวทางการพัฒนาการนิเทศการสอนวิทยาศาสตร์, ผู้นิเทศการสอนวิทยาศาสตร์

บทคัดย่อ

การนิเทศการสอนวิทยาศาสตร์พบปัญหาดังนี้      1) การขาดคุณภาพและความสามารถในการสอนวิทยาศาสตร์ของครู 2) การขาดความรู้และทักษะการนิเทศของผู้นิเทศการสอนวิทยาศาสตร์ 3) การขาดรูปแบบการนิเทศที่มีความเฉพาะเจาะจงกับการนิเทศการสอนวิทยาศาสตร์ นอกจากนี้แนวทางการพัฒนาการนิเทศการสอนวิทยาศาสตร์ ได้แก่ 1) สนับสนุนในการฝึกอบรมครูวิทยาศาสตร์และผู้นิเทศ 2) ส่งเสริมให้ครูวิทยาศาสตร์ที่มีทักษะและความโดดเด่นมาสาธิต นิเทศ เป็นพี่เลี้ยง และให้คำแนะนำแก่ครูใหม่ 3) ส่งเสริมทีมครูวิทยาศาสตร์และผู้นิเทศให้ทำงานแบบร่วมมือรวมพลัง 4) สร้างและแบ่งปันการสาธิตผ่านเทคโนโลยีและวิธีการทางกายภาพ 5) ส่งเสริมและยกย่องครูวิทยาศาสตร์ที่มีคุณภาพและมีความโดดเด่น จากนั้นสังเคราะห์กระบวนการนิเทศการสอนวิทยาศาสตร์จากการนิเทศแบบคลินิก ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การประชุมปรึกษาก่อนการสังเกตการสอน 2) การสังเกตการสอน 3) การวิเคราะห์และวางแผนกำหนดกลวิธีการประชุมหลังการสังเกตการสอน 4) การประชุมปรึกษาหลังการสังเกตการสอน และ 5) การวิเคราะห์พฤติกรรมการนิเทศและการวางแผนการนิเทศต่อเนื่อง

References

Craven, J., & Cooper, B. S., 2016, The Supervision and Mentoring of Science teachers: Building Capacity in the Absence of Expertise in Classroom Science Supervisors. CLEARvoz Journal, vol. 3(2), September 2016, pp. 9 – 14.

Desimone, L. M., 2009, Improving impact studies of teachers’ professional development: Toward better conceptualizations and measures. Educational Researcher, vol. 38(3), April 2009, pp. 181 – 199.

Glickman, C. D., Gordon, S. P., & Ross-Gordon, J. M., 2010, Supervision and instructional leadership: A developmental approach. MA: Allyn and Bacon.

Ismail, M. , Mansor, A. , Iksan, Z. & Nor, M., 2018, Influence of Principals’ Instructional Leadership on Science Teaching Competency. Creative Education, vol. 9(14), October 2018, pp. 2234 – 2244.

Lee, E., Brown, M. N., Luft, J. A., & Roehrig, G. H., 2007, Assessing Beginning Secondary Science Teachers' PCK: Pilot Year Results. School Science and Mathematic, vol. 107(2), February 2007, pp. 52 – 60.

Mishra, P., & Koehler, M. J., 2006, Technological pedagogical content knowledge: A framework for teacher knowledge. Teachers college record, vol. 108(6), Jun 2006, pp. 1017 – 1054.

Lowenhaupt, R., McNeill, K. L., Katsh-Singer, R., Lowell, B., Lowell, B. R., & Cherbow, K., 2022, The Instructional Leader’s Guide to Implementing K-8 Science Practices. ASCD.

Sally J. Zepeda., 2012, Instructional Supervision: Applying Tools and Concepts. New York, NY: Routledge.

คมสัน พิมพ์วาปี และจุไรรัตน์ สุดรุ่ง, 2563, รูปแบบการนิเทศการสอนที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนพฤติกรรมการสอนของครูวิทยาศาสตร์. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 48(1), 22 – 40.

ฐาปนา จ้อยเจริญ และชนินันท์ พฤกษ์ประมูล, 2563, สภาพและปัญหาการนิเทศนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูวิทยาศาสตร์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ. วารสารชุมชนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, 14(3), 193 – 207.

นิพนธ์ ไทยพาณิชย์, 2530, การนิเทศแบบคลินิก. วารสารสารานุกรมศึกษาศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 7(1), 131 – 137.

นิพนธ์ ไทยพาณิชย์, 2535, การนิเทศแบบคลินิก. กรุงเทพฯ : คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์, 2548, การนิเทศการสอน. กรุงเทพมหานคร: บริษัทพิมพ์ดีจำกัด.

พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข, 2548, วิธีวิทยาการสอนวิทยาศาสตร์ทั่วไป. กรุงเทพมหานคร: พัฒนาคุณภาพวิชาการ.

พิมพันธ์ เดชะคุปต์ พเยาว์ ยินดีสุข และพรเทพ จันทราอุกฤษฎ์, 2565, สมรรถนะการนิเทศเชิงรุก ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ภพ เลาหไพบูลย์, 2537, แนวการสอนวิทยาศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช.

วชิรา เครือคำอ้าย, 2558, ตำราการนิเทศการศึกษา. เชียงใหม่ : ส.การพิมพ์.

วนิดา ฉัตรวิราคม, 2554, การนิเทศและการแก้ปัญหาการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

วรรณทิพา รอดแรงค้า และพิมพันธ์ เดชะคุปต์, 2542, การพัฒนาการคิดของครูด้วยกิจกรรมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว).

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2544, รายงานการวิจัยเพื่อพัฒนานโยบายการปฏิรูปการศึกษาวิทยาศาสตร์ศึกษาของไทย. กลุ่มงานพัฒนานโยบายวิทยาศาสตร์ศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ, 2560, ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

สุนีย์ คล้ายนิล, 2544, การพัฒนาการศึกษาวิทยาศาสตร์ระดับโรงเรียนในประเทศไทยและผลกระทบที่เกิดขึ้น, สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.

สุนีย์ คล้ายนิล, 2555, การศึกษาวิทยาศาสตร์ไทย: การพัฒนาและภาวะถดถอย. บริษัท แอดวานส์ พริ้นติ้ง เซอร์วิช จำกัด.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-30