"PRAN BOON" TEACHER MANOHRA, SCIENCE AND ARTS OF SOUTHERN MANRTA

Main Article Content

Wongsiri Rueangsri

Abstract

This article was presentation about history of "Pran Boon" teacher manohra, science and arts of southern mantra. Phran Boon is both doctor and teacher, as well as the parents of those who respect Nora's blood family. Help eliminate suffering and protect the danger for children Nora. Whenever Nora music is heard, it results in a spiritual influence, combined with the religious principles that are incorporated into the poem. Causing the influence of moral, net worth, object, and morality to the audience as a living thought. “Pran Boon” is a teacher of. manora has the science and art of mantra. Because believe that the science of manohra or the science of the principal teacher of Pran Boon is a teacher of mantra who uses spells to heal diseases. And art of dance performances. Said the poem sparked fun, entertaining and excised to commemorate the purpose of doing good, as well as the spell used in worship to summon wealth, reinforced mercy. Add charm to the eye to the beholder. And escape from danger He believed that Phran Boon would take care and protect the children of respect and faith, therefore all faculties of nora theater owner believed and embraced the principles to act and act in the principles of religion in the 5 precepts. By hold self to be respected and a religious ritual. The children of Nora have beliefs in relation to kinship and values, recognize the value consciousness, love, friendship and the inheritance of ancestors that have been passed down.

Article Details

How to Cite
Rueangsri, W. . (2021). "PRAN BOON" TEACHER MANOHRA, SCIENCE AND ARTS OF SOUTHERN MANRTA. Journal of Social Science and Cultural, 5(1), 1–16. Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/JSC/article/view/249261
Section
Academic Article
Author Biography

Wongsiri Rueangsri, Suratthani Rajabhat University

ตำเเหน่ง : อาจารย์ประจำหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี

สาขาที่เชี่ยวชาญ : ปริญญาตรี  คหกรรมศาสตร์ สาขาผ้าและเครื่องแต่งกาย -อุตสาหกรรมเครื่องแต่งกาย  (สิ่งทอเคมี)    มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
                        ปริญญาโท  ศึกษาศาสตร์   สาขาวิชาเอกคหกรรมศาสตรศึกษา วิชารองจิตวิทยาสิ่งแวดล้อม  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                        ปริญญาเอก  ศึกษาศาสตร์  สาขาพัฒนศึกษา  มหาวิทยาลัยศิลปากร

ประสบการณ์การทำงาน  
  2560- ปัจจุบัน  
      มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี   อาจารย์พิเศษ สาขาการพัฒนาชุมชน
      1. สอนวิชาการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
      2. สอนวิชาสัมมนาปัญหาชุมชน                         
      3. สอนวิชาทักษะการสื่อสารในงานพัฒนา           
      4. สอนวิชาวิถีไทย                                                     
      5. สอนวิชาสวัสดิการชุมชน                                  
      6. สอนวิชาสังคมวิทยาชุมชนชนบทและชุมชนเมือง                                                                                                 
      7. สอนวิชามิติเศรษฐกิจและสังคม  (รัฐศาสตร์)
      8. สอนวิขาภาวะความเป็นผู้นำ
      9. สอนวิชาวิทยากรกระบวนการ

2556-2559 บริษัทอลิอันซ์ อยุธยา ผู้จัดการภาคอาวุโส 
       1. บริหารตัวแทนให้เป็นไปตามเป้าหมายของบริษัทและหน่วยงานทางด้านยอดขายและ  การบริการ
       2. ฝึกฝนและพัฒนาบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญและชำนาญในระบบงานของบริษัทการขายและการบริการ
       3. สร้างแรงบันดาลใจและแรงจูงใจให้แก่พนักงานในสังกัด เพื่อให้เกิดการทำงานในทิศทางเดียวกัน
       4. เสาะหาและคัดสรรบุคลากรที่มีความชำนาญหรือมีทัศนคติต่อองค์กรและหน่วยงานในทางที่ดี
       5. สร้างแผนการทำงานของพนักงานภายใต้สังกัด เพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้        
       6. ฝึกอบรมโปรแกรมผู้นำต่างๆ  เพื่อพัฒนาศักยภาพในการทำงาน  

     
2551-2555  โรงเรียนปราโมชวิทยา (ระดับมัธยมศึกษา) อาจารย์สอนและหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี  
       1. ครูประจำชั้นดูแลนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4  และ 6     
       2. การเขียนแผนการสอน  
       3. ดูแลด้านหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี         
       4. จัดทำสื่อการสอน      
       5. สอนวิชาการงานอาชีพ        
       6. หัวหน้าชมรมสิ่งประดิษฐ์เชิงสร้างสรรค์และเศรษฐกิจพอเพียง  
       7.  จัดทำโครงการเศรษฐกิจพอพียง        
       8.  จัดและตกแต่งสถานที่  การออกบู๊ท 

2550-2551  โรงเรียนฝึกพนักงานผู้ช่วยพยาบาลโรงพยาบาลกล้วยน้ำไท    อาจารย์ฝ่ายวิชาการ และอาจารย์สอนวิชาสังคมและวัฒนธรรมไทย  
       1. วัดและประเมินผลนักศึกษา
       2. การเขียนแผนการสอน          
       3. ดูแลด้านหลักสูตรการเรียนการสอน  
       4. การตรวจนิเทศนักศึกษาฝึกงาน    
       5. สอนวิชาสังคมและวัฒนธรรมไทย     
       6. สอนการทำโครงการ                                                                       

ประสบการณ์ผลงานทางวิชาการ  ระหว่าง พ.ศ. 2549 – ปัจจุบัน        
ด้านการวิจัย

  1. งานวิจัยเรื่องกระบวนการจัดการเรียนการสอนคหกรรมศาสตร์ตามทัศนะของอาจารย์และนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ปี พ.ศ. 2549
  2. งานวิจัยแนวทางการศึกษาของกลุ่มอาเซียน ปี พ.ศ. 2552
  3. งานวิจัยเรื่องการจัดการเรียนรู้ในการจัดการตนเองตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนภาคใต้ตอนบนปี พ.ศ. 2559
  4. โครงการศึกษารูปแบบแนวทางการจัดการป่าเลชุมชนบนฐานชุมชนจัดการตนเองอย่างยั่งยืน ตำบลท่าทอง  อำเภอกาญจนดิษฐ์  จังหวัดสุราษฎร์ธานี (สกว.)ปี พ.ศ. 2560
  5. โครงการวิจัยบทบาทและสิทธิสตรีกับกระบวนการมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรชายฝั่ง (ทุนศูนย์กรรมสิทธิมนุษยชน) ปี พ.ศ. 2561
  6. โครงการวิจัยสำรวจป่าพรุในจังหวัดสุราษฎร์ธานี (การอนุรักษ์ และฟื้นฟูทรัพยากรป่าพรุเพื่ออนุรักษ์ป่าพรุร่วมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) ปี พ.ศ. 2562

โครงการพัฒนา

  1. โครงการการออกแบบชุดผ้าไหมแนวการแต่งตัวสไตส์พั้ง   ปี พ.ศ. 2549                                   
       2. โครงการสิ่งประดิษฐ์เชิงสร้างสรรค์  ปี พ.ศ. 2551
         3. โครงการเศรษฐกิจพอเพียง   ปี พ.ศ. 2552
         4. โครงการงานประดิษฐ์ฝึกเด็กสมาธิสั้น    ปี พ.ศ. 2553
         5. โครงการคืนความดีพี่สู่น้อง     ปี พ.ศ. 2554

          

การเป็นวิทยากร

  1. วิทยากรโครงการทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ในศาสตร์พระราชา ปี พ.ศ.2561 
        2. วิทยากรโครงการสร้างจิตสำนึกความเป็นพลเมืองในเรื่องการจัดการขยะให้แก่ผู้นำชุมชน  ประชาชน  และนักเรียนในตำบลขุนทะเลปี พ.ศ.2561          
          3. วิทยากรโครงการการค้นหาปัญหาและความต้องการเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตชาวขุนทะเล  ปี พ.ศ.2561            
          4 .วิทยากรเรื่องการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตและศักยภาพผู้สูงอายุในชุมชนเทศบาล    นครสุราษฎร์ธานีปี พ.ศ.2561       
          5. วิทยากรโครงการความมั่นคงทางอาหาร ปี พ.ศ.2561         
          6. วิทยากรโครงการพัฒนาและส่งเสริมคุณภาพชีวิตกลุ่มสตรี ปี พ.ศ.2561       
          7. วิทยากรโครงการการศึกษาพัฒนาการภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการทรัพยากรสัตว์น้ำ ปี พ.ศ.2561            
          8. วิทยากรเรื่องงานวิจัยทางสังคมศาสตร์ ปี พ.ศ.2561            
          9. วิทยากรเรื่องงานวิจัยเชิงคุณภาพ ปี พ.ศ.2561
         10. วิทยากรโครงการป่าเลชุมชน พ.ศ.2561
          11. วิทยากรโครงการการอนุรักษ์ภูมิปัญญาพื้นบ้านของชาวประมงในพื้นที่อ่าวบ้านดอน

 

พ.ศ.2561

  1. วิทยากรโครงการนวัตวิถีโอทอป พ.ศ.2562
  2. วิทยากรเรื่องบทบาทและสิทธิสตรีในการจัดการที่ดินในพื้นที่ชัยบุรี (สปก.) พ.ศ.2562
  3. วิทยากรโครงการตาสับปะรด พ.ศ.2562
  4. วิทยากรโครงการสอนศิลธรรม พ.ศ.2562

 

References

คมชัดลึก. (2563). หน้าพรานมโนราห์(พรานบุญ)ของขลังไทยปักษ์ใต้จาก'มโนราห์. เรียกใช้เมื่อ 28 พฤศจิกายน 2563 จาก http://www.komchadluek.net/news/detail /216555

จุฑาภรณ์ มีสุขศรี. (2558). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการศิลปะการแสดงโนราโรงครูวัดท่าแคเพื่อการท่องเที่ยววัฒนธรรม. ใน วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารงานวัฒนธรรม. วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

เฉลิม มากนวล และจรัส ชูชื่น. (2540). การศึกษาการใช้ภาษาและโลกทัศน์ในบทมโนราห์. ใน รายงานการวิจัย. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี.

ธีรวัฒน์ ช่างสาน. (2538). พรานโนรา. ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากสถาบันราชภัฎนครศรีธรรมราช ประจำปีการศึกษา 2537. นครศรีธรรมราช: ภาคนาฎศิลป์ สถาบันราชภัฎนครศรีธรรมราช.

บรรดาศักดิ์ พิทักษ์ศิลป์. (2563). ครูหมอโนรา. เรียกใช้เมื่อ 5 ธันวาคม 2563 จาก http://krunora. blogspot.com

ปรีชา นุ่นสุข. (2557). โนรา หนังสือชุดความรู้ไทย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว.

ปุรินทร์ นาคสิงห์. (2562). พรานบุญ: การประกอบสร้างความหมายและการกลายมาเป็นสินค้าทางวัฒนธรรม. วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 45(2), 323-341.

พระครูใบฎีกาโกวิท โกวิโท (จิตประสงค์) และคณะ. (2562). ศึกษาวิเคราะห์หลักพุทธธรรมที่ปรากฏในการแสดงโนราโรงครู. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 6(5), 2481-2500.

เยี่ยมยง สุรกิจบรรหาร. (2523). ความเป็นมาของโนรา ในพุ่มเทวา : ที่ระลึกงานเชิดชูเกียรติ ศิลปินาคใต้ : ขุนอุปถัมภ์นรากร. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

วรรณกร พลพิชัย และเจตนา อินยะรัตน์. (2561). การศึกษาความเชื่อ พิธีกรรม และรูปแบบการสืบทอดครูหมอโนราและโนราโรงครูในตำบลปริก อำเภอทุ่งใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช. ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ประจำปี พ.ศ. 2561. ตรัง: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย.

วิวัฒน์ วนรังสิกุล. (2544). มโนราห์: ศิลปะแห่งการแพทย์พื้นบ้าน. หมออนามัย, 10(6), 6-17.

ศศิประภา จันทรโชตะ. (2554). คู่มือการถ่ายทอดองค์ความรู้ของครูภูมิปัญญาท้องถิ่น อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา. กรุงเทพมหานคร: สำนักงาน.

ศาสตร์แห่งครูหมอโนรา. (2563). ครูหมอโนราอภินิหารของการรักษาโรค. เรียกใช้เมื่อ 5 ธันวาคม 2563 จาก http://krunora.blogspot.com/2013/05/blog-post_3.html.

สารภี มุสิกอุปถัมภ์. (2527). โนราลงครู. องค์การค้าคุรุสภา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว.

สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม. (2553). Corporate Social Responsibility กับการดำเนินงานวัฒนธรรม. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงวัฒนธรรม.

สุรินทร์ มุขศรี. (2540). มโนห์รา. นิตยสารศิลปวัฒนธรรม, 18(9), 97-109.

แหล่งเรียนรู้เรื่องราวมโนราห์. (2563). ทวดทะเลพระ ครูโนราห์พ่อแก่เกลือน ลูกหลานเขาชัยสน. เรียกใช้เมื่อ 28 พฤศจิกายน 2563 จาก https://www.beautynailhair salons.com/TH/Amphoe-Khao-Chaison/ 594450264050451