FACTORS AFFECTING THE RECEIVING CERTIFICATION OF GOOD AGRICULTURAL PRACTICES BY SMALL FARMERS FRUIT GROWERS FOR EXPORT IN CHANTHABURI PROVINCE

Main Article Content

Nalinee Chanamool
Anchana Kumyat
Naris Uraipan

Abstract

The study aims to study the factors affecting the receiving certification of good agricultural practices by small farmers fruit growers for export in Chanthaburi province. The population used in the research were 41,613 small farmers who grow durian and were registered as farmers by the Chanthaburi Provincial Agricultural Office with a total sample of 396 small farmers determined by area random sampling and stratified random sampling method. A questionnaire was used as a research tool. Data were analyzed using binary logistic regression analysis. The research found that there were 2 factors influencing the application for certification of good agricultural practice standards: knowledge and understanding of farmers on GAP and farmers' practices on GAP. Logistic regression analysis predicting all variables was appropriate and consistent with the empirical data and model. The average overall efficiency of the logistics equation predicted the chances of small farmers passing and not being certified with 99.20 percent accuracy. The ability to correctly predict the chances of farmers who were certified GAP was 98.80% and not being certified for GAP was 99.60%, while the apparent error rate in grouping was 0.80 percent. By proposing ways to get more small farmers to pass GAP certification, government agencies must pay attention and support to promote both factors, including creating incentives for farmers to be aware of the importance of GAP standards.

Article Details

How to Cite
Chanamool, N., Kumyat, A., & Uraipan, N. (2023). FACTORS AFFECTING THE RECEIVING CERTIFICATION OF GOOD AGRICULTURAL PRACTICES BY SMALL FARMERS FRUIT GROWERS FOR EXPORT IN CHANTHABURI PROVINCE. Journal of Social Science and Cultural, 7(10), 250–264. Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/JSC/article/view/268840
Section
Research Articles

References

กรรณิการ์ สังขจร และคณะ. (2564). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการผลิตทุเรียนแทนยางพาราของเกษตรกรในโครงการพัฒนาอาชีพชาวสวนยางรายย่อยเพื่อความยั่งยืน. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร, 52(2), 118-127.

กังสดาล กนกหงษ์ และคณะ. (2561). การยอมรับวิธีการปลูกพืชภายใต้มาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีและเหมาะสม (GAP) ของเกษตรกรศูนย์พัฒนาโครงการหลวงม่อนเงาะ อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร, 36(1), 75-84.

กาญจ์กนก วิหาละ และคณะ. (2564). การปฏิบัติตามระบบมาตรฐานเกษตรที่ดีและเหมาะสมของเกษตรกรผู้ปลูกมะม่วง อําเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่. วารสารผลิตกรรมการเกษตร, 3(3), 105-116.

จรวด มัทธวรัตน์ และคณะ. (2564). การพัฒนาและส่งเสริมการจัดการระบบน้ำเพื่อการผลิตผักและผลไม้ที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 6(5), 111-122.

จักรพันธ์ พรมเกี๋ยง และคณะ. (2563). ความรู้และการปฏิบัติตามแนวเกษตรดีที่เหมาะสมของเกษตรกรผู้ปลูกหม่อน อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดน่าน. วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร, 37(1), 52-63.

จีรวัฒน์ แพงแสน และคณะ. (2565). แนวทางความสำเร็จของการผลิตข้าวอินทรีย์: กรณีศึกษาเกษตรกรผู้ผลิตข้าว อำเภอศรีวิไล จังหวัดบึงกาฬ. วารสารมหาวิทยาลัยพัฒนาเชิงพื้นที่, 1(2), 11-21.

จุฑามาศ คนไทย และคณะ. (2562). ความต้องการการผลิตผักตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับพืชอาหาร (GAP) ของเกษตรกรในอำเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี. แก่นเกษตร, 47(4), 727-738.

จุฬาลักษณ์ ตลับนาค และคณะ. (2564). การประเมินความรู้ความเข้าใจและการปฏิบัติตามมาตรฐานเกษตรดีที่เหมาะสมของเกษตรกรผู้ปลูกผัก ตำบลบ้านเชี่ยน อำเภอหันคา จังหวัดชัยนาท. วารสารเกษตรพระวรุณ, 18(1), 104-110.

ชลาธร จูเจริญ และคณะ. (2564). การผลิตชาตามเกษตรที่ดีสำหรับใบชาสดของเกษตรกรผู้ผลิตชาในพื้นที่มูลนิธิโครงการหลวง จังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร, 52(2), 202-212.

ณัฐวุฒิ จั่นทอง และคณะ. (2566). การยอมรับเทคโนโลยีการผลิตกล้วยหอมตามการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีและเหมาะสม (GAP) ของเกษตรกรในเขตภาคกลางตอนบน. วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร, 40(1), 150-160.

ทิพย์วรรณ ปริญญาศิริ และชนิพรรณ บุตรยี่. (2561). การวิเคราะห์พหุหลักเกณฑ์สำหรับมาตรการการควบคุมวัตถุอันตรายทางการเกษตรในผักและผลไม้. วารสารกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์, 60(3), 155-167.

นฤมล คำดี และคณะ. (2565). ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติเกษตรดีที่เหมาะสมของเกษตรกรผู้ปลูกสตรอว์เบอร์รีคุณภาพ อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่. วารสารเกษตร, 38(2), 201-208.

นุกุล อินทกูล และวรลักษณ์ วรรณโล. (2566). แนวทางการพัฒนามาตรฐานการผลิตสับปะรดนางแล สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ ตำบลนางแล อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย. วารสารการวิจัยกาสะลองคำ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 17(1), 64-75.

ปริญญา กรจัตุพร และคณะ. (2562). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการปฏิบัติตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีของเกษตรกรผู้ปลูกข้าว จังหวัดนครปฐม. วารสารเกษตรพระจอมเกล้า, 37(2), 381-393.

ปรีติยาทร แก้วมณี และมยุรี กระจายกลาง. (2561). การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวและการสูญเสียหลังการเก็บเกี่ยวของกล้วยหอมทอง. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร, 29(3 พิเศษ), 25-31.

พัชรินทร์ สุภาพันธ์ และทัดพงศ์ อวิโรธนานนท์. (2561). ความรู้ การปฏิบัติ และช่องทางการตลาดผักตามมาตรฐานเกษตรดีที่เหมาะสม ในจังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร, 35(2), 64-76.

พุฒิสรรค์ เครือคำ และคณะ. (2564). การยอมรับการส่งเสริมปลูกพืชผักในระบบการเพาะปลูกที่ดีของเกษตรกรชนเผ่ากะเหรี่ยงในพื้นที่ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงวัดจันทร์ จังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร, 38(1), 135-143.

มณฑิรา สังขจร และคณะ. (2564). ความเป็นไปได้ในการผลิตขมิ้นชัน ตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) ของเกษตรกร อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร, 52(2), 107-117.

ยุภาพร อำนาจ และคณะ. (2566). การมีส่วนร่วมของเกษตรกรในการจัดการน้ำเพื่อการเกษตรในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารจันทรเกษมสาร, 29(1), 1-16.

ลดาวัลย์ ไข่คำ. (2566). ความคิดเห็นและการปรับตัวของเกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนในจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกของประเทศไทย ต่อประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง บัญชีรายชื่อวัตถุอันตราย (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2563. วารสารจันทรเกษมสาร, 29(1), 113-128.

ศุทธิดา มิ่งสกุล. (2559). ความรู้และการปฏิบัติตามแนวเกษตรดีที่เหมาะสมของเกษตรผู้ปลูกผักในอำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิชาการมาหวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์, 11(2), 324-334.

ศูนย์สารสนเทศการเกษตร. (2565). สถิติการค้าสินค้าเกษตรไทยกับต่างประเทศ ปี 2565. เรียกใช้เมื่อ 27 สิงหาคม 2566 จาก https://www.oae.go.th/assets/portals/1/files/jounal/2566/tradestatistic 2565.pdf

สายใจ ทันการ และคณะ. (2563). นวัตกรรมการแปรรูปผลไม้ตามฤดูกาลของผู้ผลิตตลาดเกษตรกร จังหวัดบุรีรัมย์ ในยุคไทยแลนด์ 4.0. วารสารสหวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, 4(1), 47-54.

สำนักงานเกษตรจังหวัดจันทบุรี. (2566). รายงานผลการปรับปรุงข้อมูลทะเบียนเกษตรกรผ่านระบบ ทบก. และแอปพลิเคชั่น DOAE Farmbook ปี 2565. จันทบุรี: สำนักงานเกษตรจังหวัดจันทบุรี.

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2564). ข้อมูลเศรษฐกิจการเกษตร. เรียกใช้เมื่อ 28 สิงหาคม 2566 จาก https://www.oae.go.th/view/1/รายละเอียดภาวะเศรษฐกิจการเกษตร/36829/TH-TH

สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 6 . (2566). ข้อมูลการดำเนินงานตรวจรับรองแหล่งผลิตพืช (GAP) สะสมปี 2566 แยกรายอำเภอ. จันทบุรี: สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 6.

สุนิสา ช่วยสุข และคณะ. (2565). การส่งเสริมการผลิตทุเรียนตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีของเกษตรกร ตำบลเขาค่าย อำเภอสวี จังหวัดชุมพร. Journal of Roi Kaensarn Academi, 7(8), 334-352.

สุภาพร อามาตย์. (2566). การจัดการระบบควบคุมคุณภาพการผลิตต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตสินค้าหอมแดงศรีสะเกษ ตามมาตรฐานสินค้าสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ไทย (GI) ของเกษตรกรผู้ปลูกหอมแดง ในเขตพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษ. วารสารการจัดการและการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 10(1), 1-19.

อรัญ บุญญะนิต และรุจ ศิริสัญลักษณ์. (2562). ปัจจัยที่มีผลต่อการได้รับการรับรองการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีของเกษตรผู้ปลูกข้าวในอำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่. แก่นเกษตร, 47(ฉบับพิเศษ 1), 167-172.

Cronbach, L. J. (1951). Coefficient alpha and the internal structure of tests. psychometrika, 16(3), 297-334.

Inta Chanthavong. (2562). การยอมรับเทคโนโลยีการปลูกข้าวภายใต้ระบบเกษตรดีที่เหมาะสม ของเกษตรกรอำเภอจำพอน จังหวัดสะหวันนะเขต สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. ใน ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาทรัพยากรและส่งเสริมการเกษตร. มหาวิทยาลัยแม่โจ้.

Kline, R.B. (2005). Principles and practice of structural equation modeling (2nd Edition). New York: Guilford Press.

Kourgialas et al. (2022). Good Agricultural Practices Related to Water and Soil as a Means of Adaptation of Mediterranean Olive Growing to Extreme Climate-Water Conditions. Sustainability, 14(20), 1-14.

Rovinelli, R. J. (1976). Methods for Validating Criterion-Referenced Test Items. Unplblisded Doctoral Dissertation. University of Massachusetts Amherst. Retrieved August 27, 2023, from ttps://scholarworks.umass.edu/cgi/viewcontent.cgi?referer=https://www.google. Co.th/&httpsredir=1&article=4661&context=dissertations_1

Yamane, T. (1973). Statistics: An Introductory Analysis (3rd Edition). New York: Harper and Row.