ผลกระทบของการตระหนักรู้กฎหมายและกฎระเบียบพื้นฐานด้านการบินต่อพฤติกรรมผู้โดยสารที่ไม่พึงประสงค์บนอากาศยาน: กรณีศึกษาผู้โดยสารไทยกลุ่มเจเนอเรชันซี

ผู้แต่ง

  • ณัฐพร ชื่นสุวรรณ์ คณะมนุษยศาสตร์และการจัดการการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ประเทศไทย
  • ปรนิก แตงทองคำ คณะมนุษยศาสตร์และการจัดการการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ประเทศไทย
  • โกวิท รุ่งเสรีรัช คณะมนุษยศาสตร์และการจัดการการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ประเทศไทย

คำสำคัญ:

การกระทำที่ไม่พึงประสงค์บนอากาศยาน, การตระหนักรู้กฎหมายและกฎระเบียบพื้นฐานการบิน, ผู้โดยสารเจเนอเรชันซี

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการตระหนักรู้กฎหมายและกฎระเบียบพื้นฐานการบินของผู้โดยสารไทยเจนเนอเรชันซี (2) ประเมินการกระทำที่ไม่พึงประสงค์บนอากาศยานของผู้โดยสารไทยเจนเนอเรชันซีและ (3) ตรวจสอบความรู้ความเข้าใจกฎหมายและกฎระเบียบพื้นฐานการบินของผู้โดยสารไทยเจเนอเรชันซีที่มีอิทธิพลต่อการกระทำที่ไม่พึงประสงค์บนอากาศยาน โดยดำเนินการวิจัยเชิงปริมาณ เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง และเก็บข้อมูลด้วยการแจกแบบทดสอบและแบบสอบถามให้กับผู้โดยสารไทยเจนเนอเรชันซีจำนวน 409 คน และใช้สถิติการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นพหุคูณในการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการศึกษาพบว่า ผู้โดยสารไทยเจนเนอเรชันซีมีระดับความตระหนักรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายและกฎระเบียบพื้นฐานด้านการบินอยู่ในระดับปานกลาง และมีแนวโน้มต่ำในการแสดงพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ขณะเดินทางบนอากาศยาน นอกจากนี้ยังพบว่า ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายและกฎระเบียบพื้นฐานด้านการบินมีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญต่อการลดลงของพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่าการส่งเสริมความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับกฎระเบียบการบินในหมู่ผู้โดยสารไทยเจนเนอเรชันซีสามารถช่วยลดความเสี่ยงของพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ และเพิ่มความปลอดภัยในการเดินทางทางอากาศได้

References

ดนุลดา จามจุรี. (2563). การออกแบบการเรียนรู้สำหรับผู้เรียน Gen Z. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

นฤมล ถินทอง. (2561). มาตรการทางเลือกทดแทนโทษประหารชีวิต. (ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).

ประชาชาติธุรกิจ. (2565). สายการบินเอเชียเจอปัญหา “ผู้โดยสารจอมป่วน” น้อยกว่าทวีปอเมริกา-ยุโรป. สืบค้นจาก https://www.prachachat.net/tourism/news-872864.

ปราณี มีหาญพงษ์ และ กรรณิการ์ ฉัตรดอกไม้ไพร. (2561). การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวิจัยทางการพยาบาล. วารสารพยาบาลทหารบก, 19(1). 10-13

สมัชชาสุขภาพ. (2566). ระบบสุขภาวะจิตเพื่อสังคมไทยไร้ความรุนแรง. สืบค้นจาก https://www.nationalhealth.or.th/sites/default/files/upload_files/1-3NHA16.pdf.

แสงอรุณ ลิ้มวงศ์ถาวร. (2024). บทความสุขภาพจิต: เคยเผลอบูลลี่ใครบ้างหรือป่าว ทั้งตั้งใจและไม่ตั้งใจ. สืบค้นจาก https://mhc7.dmh.go.th/01/05/2024/17813/.

Abeyratne, R. I. R. (2019). Legal priorities in air transport. New York: Springer International Publishing.

Apel, R. (2022). Sanctions, perceptions, and crime. Annual Review of Criminology, 5(1), 205-227.

Belanger-Gravel, A. (2019). Mobilizing knowledge in behaviour change to promote health; the case of the Behaviour Change Wheel. European Journal of Public Health, 29(4), 185-813.

Buss, A. H., & Perry, M. (1992). The aggression questionnaire. Journal of personality and social psychology, 63(3), 452–459.

Chen, P. & Ha, L. (2023). Gen Z’s social media use and global communication. Online Media and Global Communication, 2(3), 301-303.

Cochran, W. G. (1997). Sampling technique. Hoboken, NJ: John Wiley & Sons, Inc.

Coyle, D. J., Smith, M. M., & Flaherty, G. T. (2021). Descriptive analysis of air rage incidents aboard international commercial flights, 2000–2020. Transportation research interdisciplinary perspectives, 11, 100418.

Goldsmid, S., Fuller, G., Coghlan, S., & Brown, R. (2016). Responding to unruly airline passengers: The Australian context. Trends and issues in crime and criminal justice. Retrieved from https://www.aic.gov.au/sites/default/files/2020-05/tandi510.pdf.

Kaji, M. (2021). 85% of flight attendants have dealt with an unruly passenger in 2021: Survey. Retrieved from https://abcnews.go.com/Politics/85-flight-attendants-dealt-unruly-passenger-2021-survey/story?id=79127637.

Kirfel, L., & Phillips, J. (2023). The pervasive impact of ignorance. Cognition, 231, 105316.

Kuss, D. J., & Griffiths, M. D. (2012). Internet gaming addiction: A systematic review of empirical research. International journal of mental health and addiction, 10, 278-296.

Lásková, M., & Sedláčková, A. (2021). Unruly passengers on board aircraft. Práce a štúdie, 10, 121–126.

Skaggs, S. & Vieraitis, L. (2023). Flying the not-so-friendly skies: airline passenger misconduct, 1999-2020. Deviant Behavior, 44, 1792–1805.

Tsang, S., Masiero, L., & Schuckert, M. (2018). Investigative air passengers’ acceptance level of unruly in-flight behavior. Tourism Analysis, 23, 31–43.

Twenge, J. M. (2013). Does online social media lead to social connection or social disconnection?. Journal of College and Character, 14(1), 11–20.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2025-03-29

How to Cite

ชื่นสุวรรณ์ ณ., แตงทองคำ ป., & รุ่งเสรีรัช โ. (2025). ผลกระทบของการตระหนักรู้กฎหมายและกฎระเบียบพื้นฐานด้านการบินต่อพฤติกรรมผู้โดยสารที่ไม่พึงประสงค์บนอากาศยาน: กรณีศึกษาผู้โดยสารไทยกลุ่มเจเนอเรชันซี. วารสารสังคมศาสตร์ปัญญาพัฒน์, 7(1), 129–140. สืบค้น จาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/JSSP/article/view/279143