การสร้างสรรค์ผลงานทางเทคโนโลยีดนตรีจากความสอดคล้องระหว่างเสียงและ ชีวิตประจำวัน “คีย์แคป”

ผู้แต่ง

  • สหภพ มีแก้ว คณะดนตรีและการแสดง มหาวิทยาลัยบูรพา
  • ธนะรัชต์ อนุกูล คณะดนตรีและการแสดง มหาวิทยาลัยบูรพา

คำสำคัญ:

การสร้างสรรค์, เทคโนโลยีดนตรี, เสียงและชีวิตประจำวัน

บทคัดย่อ

การสร้างสรรค์ผลงานทางเทคโนโลยีดนตรีจากความสอดคล้องระหว่างเสียงและชีวิตประจำวัน“คีย์แคป” ผลงานสร้างสรรค์นี้มุ่งหวังในการสร้างสรรค์ผลงานทางเทคโนโลยีดนตรีใหม่โดยใช้แผงแป้นอักขระเป็นแรงบันดาลใจจากประสบการณ์ในชีวิตประจำวันของผู้วิจัย ผู้วิจัยใช้แผงแป้นอักขระตลอดทั้งวันในกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การทำงานหรือการเรียน การผ่อนคลายและสนุกสนานผ่านการเล่นเกม และการฟังเพลงในแนว Lo-Fi เพื่อการผ่อนคลายในชีวิตประจำวัน วิจัยนี้นำเสนอแนวคิดและทฤษฎีอิเลคโทรอะคูสติค (Electro Acoustic) และดนตรีโล-ไฟ (Lo-Fi) ในการสร้างสรรค์ผลงานดนตรี โดยการศึกษาเนื้อหาทั้งหมดประกอบไปด้วยการตีความ การออกแบบเสียง และการจัดวาง เพื่อให้เกิดผลงานดนตรีที่น่าสนใจในแนวประพันธ์สมัยใหม่

References

ภัทริยา วิริยะศิริซัฒนะ. (2558). การวิเคราะห์การเล่าเรื่องในภาพยนตร์เรื่อง LESMISERABLES. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม) คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

พัชรพล ก้องเพชรศักดิ์. (2558). การผลิตเสียงประกอบ (Sound effects) เพื่อใช้ประกอบภาพยนตร์เขย่าขวัญ (Thriller) ด้วยการบันทึกเสียง Foley. ปริญญานิพนธ์เทคโนโลยีการถ่ายภาพและภาพยนตร์ คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

ศุภวิชญ์ ค้ำคูณและธนกฤต สูชัยยะ. (2558). การผลิตเสียงประกอบภาพยนตร์ประเภทโฟเลย์ : คาราเต้ ปริญญานิพนธ์เทคโนโลยีการถ่ายภาพและภาพยนตร์ คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

Andean, J. (2014). Towards a Narratology of Acousmatic Music. Proceedings of the Electroacoustic Music Studies NetworkConference Electroacoustic Music Beyond Performance, Berlin, http://www.ems-network.org/IMG/pdf_EMS14_andean.pdf. June 2014.

Campion, G., & Côté, G. (2018). Acousmatic Music as a Medium for Information: A case study of Archipel. Organised Sound, 23(1), 112-120. doi:10.1017/S135577181700036X.

Emmerson, Simon. (1998). Acoustic/electroacoustic: The relationship with instruments. Journal of New Music Research, 27:1-2, 146-164, DOI: 10.1080/09298219808570742.

MIklos, Vincze. (2013). The Curious Evolution of the Typewriter, in Pictures. สืบค้น 12 สิงหาคม 2563, จาก https://io9.gizmodo.com/the-curious-evolution-of-the-typewriter-in- pictures-509985235.

Molino, J. (1990). “Musical Fact and the Semiology of Music”. Music Analysis 9: 133-156.

Moss, M. & Thomas, D. (2022). The Motives for and Consequences of the Introduction of 10.2478/adhi-2022-0005. 219-232.

Kadlec, F. & Rund, Frantisek & Storek, D.. (2011). Measurement and analysis of electro-acoustic systems for assistive technology. 18th

International Congress on Sound and Vibration 2011, ICSV 2011. 4. 2547-2554.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

29-06-2023