การใช้กระบวนการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญเพื่อจัดสร้างรัฐธรรมนูญใหม่: ข้อสังเกตว่าด้วยการจัดสร้างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489 ภายใต้มุมมองของแนวคิดรัฐธรรมนูญของชนชั้นนำ

ผู้แต่ง

  • ณัฐดนัย นาจันทร์ อาจารย์ประจำสาขาวิชากฎหมายมหาชน สำนักวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง และนักศึกษาระดับชั้นปริญญาเอก คณะนิติศาสตร์ Victoria University of Wellington, natdanai.nac@mfu.ac.th https://orcid.org/0000-0001-5941-8477

คำสำคัญ:

การสร้างรัฐธรรมนูญใหม่ขึ้นแทนที่, รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489, แนวคิดว่าด้วยรัฐธรรมนูญของชนชั้นนำ

บทคัดย่อ

           รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489 นั้นถือเป็นหนึ่งในรัฐธรรมนูญที่มีเอกลักษณ์มากที่สุดฉบับหนึ่งในบรรดารัฐธรรมนูญทั้งหลายที่ถูกร่างขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. ​2475 เป็นต้นมา กล่าวคือ รัฐธรรมนูญฉบับนี้ถูกจัดสร้างขึ้นผ่านกระบวนการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ แต่โดยเนื้อแท้แล้วกลับไม่ใช่รัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติม แต่เป็นการสร้างรัฐธรรมนูญใหม่ขึ้นมาเพื่อแทนที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2475 หรืออาจกกล่าวอีกนัยหนึ่งว่าเป็นการใช้กระบวนการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญเพื่ออำพรางการสร้างรัฐธรรมนูญใหม่ขึ้นแทนที่ โดยชนชั้นนำทางการเมืองซึ่งอยู่ในอำนาจได้เลือกใช้กระบวนการนี้มาเป็นเครื่องมือในการจัดสรรอำนาจทางการเมืองเสียใหม่เนื่องจากมีความสามารถในการควบคุมองค์กรที่ทำหน้าที่ยกร่างรัฐธรรมนูญได้อย่างเบ็ดเสร็จเด็ดขาด สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้คือข้อค้นพบจากการศึกษาพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489 ผ่านวิธีการในการแบ่งแยกความแตกต่างระหว่างการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญและการสร้างรัฐธรรมนูญใหม่ขึ้นแทนที่ และแนวคิดว่าด้วยรัฐธรรมนูญของชนชั้นนำ ซึ่งถูกนำเสนอไว้ในบทความนี้

Author Biography

ณัฐดนัย นาจันทร์, อาจารย์ประจำสาขาวิชากฎหมายมหาชน สำนักวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง และนักศึกษาระดับชั้นปริญญาเอก คณะนิติศาสตร์ Victoria University of Wellington, natdanai.nac@mfu.ac.th

นิติศาสตร์บัณฑิต เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์; นิติศาสตร์มหาบัณฑิตสาขาวิชากฎหมายมหาชน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; นักศึกษาปริญญาเอก คณะนิติศาสตร์ Victoria University of Wellington

References

กรมศิลปากร. (2478). แถลงการณ์เรื่อง สมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยุ่หัว ทรงสละราชสมบัติ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์พระจันทร์.

คณะกรรมการดำเนินงานฉลอง 100 ปี ชาตกาล นายปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโส. (2545). คําให้การต่อศาลอาชญากรสงคราม. กรุงเทพฯ : เจริญวิทย์การพิมพ์.

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และ ธำรงศักดิ์ เพชนเลิศอนันต์. (2543). 2475 การปฏิวัติสยาม. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. (2551). ประวัติศาสตร์การเมืองไทยสยาม พ.ศ. 2475-2500, พิมพ์ครั้งที่ 5, กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์.

ณัฐดนัย นาจันทร์. (2564). ความเข้าใจผิดระหว่างการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการจัดทำรัฐธรรมนูญขึ้นมาใหม่ ในปี พ.ศ. 2489 และ 2491, วารสารกฎหมายสงขลานครินทร์, 4 (1), 1-15.

ณัฐดนัย นาจันทร์. (2564). แนวคิดว่าด้วยรัฐธรรมนูญของชนชั้นนำ, ใน ณรงค์เดช สรุโฆษิต (บรรณาธิการ). รัฐ รัฐธรรมนูญ และสิทธิเสรีภาพ : ทฤษฎีและปัญหาท้าทายในยุค 2021, 115-1146. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์เดือนตุลา.

ศศิธร หนูทอง, สุนทร วิทูสุรพจน์, และ เบญจพร หนูทอง. (2562). กลไกการสร้างแบบทดสอบอัตโนมัติสำหรับคำถามแบบปรนัย โดยการประยุกต์ใช้ข้อมูลแบบออนโทโลยี. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ, 13 (1), 156-166.

สรศักดิ์ งามขจรกุลกิจ. (2531). ขบวนการเสรีไทยกับความขัดแย้งทางการเมืองภายในประเทศไทย ระหว่าง พ.ศ. 2481-2492, (วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).

สำนักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. ลำดับความเป็นมาของคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 2. สืบค้นวันที่ 5 พฤศจิกายน 2565, จาก https://www.soc.go.th/?page_id=2113

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎรที่ 6/2487. สืบค้นวันที่ 5 พฤศจิกายน 2565, จาก https://dl.parliament.go.th/handle/lirt/73318

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎรที่ 7/2489. สืบค้นวันที่ 5 พฤศจิกายน 2565, จาก https://dl.parliament.go.th/handle/lirt/73226

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎรที่ 21/2489. สืบค้นวันที่ 5 พฤศจิกายน 2565, จาก https://dl.parliament.go.th/handle/lirt/73241

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎรที่ 29/2489. สืบค้นวันที่ 5 พฤศจิกายน 2565, จาก https://dl.parliament.go.th/handle/lirt/73250

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎรที่ 22/2489. สืบค้นวันที่ 5 พฤศจิกายน 2565, จาก https://dl.parliament.go.th/handle/lirt/73242

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎรที่ 25/2489. สืบค้นวันที่ 5 พฤศจิกายน 2565, จาก https://dl.parliament.go.th/handle/lirt/73245

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎรที่ 27/2489. สืบค้นวันที่ 5 พฤศจิกายน 2565, จาก https://dl.parliament.go.th/handle/lirt/73248

Adam Przeworski. (1991). Democracy and the Market: Political and Economic Reforms in Eastern Europe and Latin America. United States: Cambridge University Press.

Andreas Kalyvas. (2005) Popular Sovereignty, Democracy, and the Constituent Power, Constellations, 12 (2), 305-321.

Andrei Yakovlev, Israel Marques, and Eugenia Nazrullaeva. (2012). From Competition to Dominance: Political Determinations of Federal Transfers in the Russian Federation, Retrieved November 5, 2022, from https://doi.org/10.2139/ssrn.2005710

C. Wright Mills. (1956). The Power Elite. Oxford: Oxford University Press.

Carl Schmitt. (2009). Constitutional Theory, London: Duke University Press.

Claude Klein and Andras Sajo. (2012). Constitution-Making: Process and Substance. In Michel Rosenfeld and András Sajó (Eds.), The Oxford Handbook of Comparative Constitutional Law, Oxford: Oxford University Press.

David Landau and Hanna Lerner. (2019). Comparative Constitution Making. Northampton: Edward Elgar Publishing.

David S. Law and Ryan Whalen. (2020). Constitutional Amendment versus Constitutional Replacement: An Empirical Comparison. In Xenophon Contiades and Alkmene Fotiadou (Eds.), Routledge Handbook of Comparative Constitutional Change, 74-100. United Kingdom: Routledge.

Donald S. Lutz. (1994) Toward a Theory of Constitutional Amendment. The American Political Science Review, 88 (2), 355-370.

Gabriel L. Negretto. (2012). Replacing and Amending Constitutions: The Logic of Constitutional Change in Latin America. Law & Society Review, 46 (4), 740-779.

Joel Colón-Ríos. (2020). Constituent Power and the Law. Oxford: Oxford University Press.

Keith G. Banting. (1984). Introduction: The Politics of Constitutional Change. In Keith G. Banting and Richard Simeon (Eds.). The Politics of Constitutional Change in Industrial Nations: Redesigning the State, 1-29. London: Macmillan.

Kirsti Samuels. (2021). Democracy-Building & Conflict Management (DCM). Geneva: International IDEA.

Mark Tushnet. (2013) Constitution-Making: An Introduction, Texas Law review, 91 (7), 1983-2013.

Michael Albertus and Victor Menaldo. (2016). Authoritarianism and the Elite Origins of Democracy. United States: Cambridge University Press.

Natdanai Nachan. (2020). Elite-Constructed Constitutions, Cultural and Religious Studies, 8 (11), 603-617.

Susan Alberts, Chris Warshaw, and Barry R. Weingast. (2012). Democratization and Countermajoritarian Institutions: The Role of Power and Constitutional Design in Self-Enforcing Democracy. In Tom Ginsburg (Eds.), Comparative Constitutional Design, 69-100. United State: Cambridge University Press.

Thak Chaloemtiarana. (2007). Thailand the Politics of Despotic Paternalism. Chiang-Mai: Silkworm Books.

The National Archives. Correspondence and Registers, 99, FO 628/49.

Tom Ginsburg. (2013). Constitutions as Contract, Constitutions as Charters. In Denis J. Galligan and Mila Versteeg (Eds.), Social and Political Foundations of Constitutions, 182-206. United States of America: Cambridge University Press.

Yaniv Roznai. (2017). Unconstitutional Constitutional Amendments: The Limits of Amendment Powers. Oxford: Oxford University Press.

Zachary Elkins, Tom Ginsburg, and James Melton. (2009). The Endurance of National Constitutions. United States: Cambridge University Press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-29