โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุด้านการยอมรับเทคโนโลยีโซล่าร์รูฟท็อป ของผู้ใช้ไฟฟ้าในเขตกรุงเทพมหานคร

Main Article Content

ธนัทเทพ จิระประวัติตระกูล
สร้อยบุปผา สาตร์มูล
ศุภวัฒน์ สุขะปรเมษฐ

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ยืนยันความสอดคล้องความสัมพันธ์เชิงสาเหตุด้านยอมรับเทคโนโลยีโซล่าร์รูฟท็อปของผู้ใช้ไฟฟ้าในเขตกรุงเทพมหานคร และ 2) เพื่อศึกษาอิทธิพลของปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับเทคโนโลยีโซล่าร์รูฟท็อปของผู้ใช้ไฟฟ้าในเขตกรุงเทพมหานคร โดยใช้วิธีการสำรวจข้อมูลกจากลุ่มตัวอย่างที่มีความสนใจติดตั้งโซล่าร์รูฟ   ท็อปและเป็นผู้ใช้ไฟฟ้าในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 416 ตัวอย่าง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา ประกอบด้วยค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติอนุมานด้วยการวิเคราะห์อิทธิพลเชิงโครงสร้างความสัมพันธ์ด้วยโปรแกรม AMOS ผลการวิจัย พบว่า ค่าความสอดคล้องของโมเดลตามสมมติฐานกับข้อมูลเชิงประจักษ์ มีค่า X2 = 507.667, X2/df = 2.538, df= 200, P = .000, GFI = .948, CFI = .949, RMR = .029, RMSEA = .041 ซึ่งตัวแบบของมาตรวัดผลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุด้านการยอมรับเทคโนโลยีโซล่าร์รูฟท็อปของผู้ใช้ไฟฟ้าในเขตกรุงเทพมหานครมีความสอดคล้องกลมกลืนกับตัวแบบทางทฤษฎีที่กำหนดไว้ในระดับที่ยอมรับได้


 

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2549). เทคนิคการเขียนเค้าโครงการวิจัย: แนวทางสู่ความสำเร็จ. กรุงเทพฯ: ไทเนรมิตกิจอินเตอร์ โปรเกรสซิฟ.

ปฐมพงศ์ ตั้งไพบูลย์. (2562). ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการเลือกติดตั้งโซล่าร์รูฟบนหลังคาบ้านของผู้บริโภคในจังหวัดสมุทรปราการ 27 [การค้นคว้าอิสระ

ปริญญาโทที่ไม่มีการตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

พรพจน์ ศรีดัน. (2562). พลังงานทดแทนกับแนวทางในการพัฒนาด้านพลังงาน อย่างยั่งยืนในประเทศไทย, (ใน 45 ปี สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย). สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เริ่ม ใสแจ่ม. (2564). ปัจจัยส่วนประสมการตลาดและปัจจัยจิตวิทยาที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจติดตั้งโซล่าร์รูฟท็อปในประเทศไทย. วารสารบริหารธุรกิจ

เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร 16(3): 101-114.

ศูนย์ข่าวพลังงาน. (2565). โซลาร์ภาคประชาชนปี 65 หลุดเป้าครัวเรือนร่วมโครงการ ไม่ถึง 2 เมกะวัตต์จากเป้าหมาย 10 เมกะวัตต์.

https://www.energynewscenter.com/

สุทิพย์ ประทุม และ สรัญณี อุเส็นยาง. (2565). การยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศในยุควิถีชีวิตใหม่. วารสารลวะศรี มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี. 6(1): 1-18.

Ajzen, I. & Fishbein, M. (1975). Belief, Attitude: ATT, Intention and Behavior: An Introduction to Theory and Research. Reading, MA:

Addison-Wesley.

Cronbach, L. J. (1970). Essentials of Psychological Testing. New York: Harper & Row.

Davis, F. D. (1989). Perceived Usefulness: PU, Perceived Ease of Use: PEOU, and user acceptance of information technology. MIS

Quarterly, 319-340.

Roca, J. C., Garcia, J. J., and Vega, J. D. (2009). The Importance of Perceived Trust, Security, and Privacy in Online Trading Systems.

Information Management and Computer Security, 17(2): 96–113.

Shelley, L. (2014). Human Smuggling and Trafficking into Europe: A Comparative Perspective. Washington DC: Migration Policy Institute.

Schumacker, R.E. and Lomax, R.G. (2010) A Beginners Guide to Structural Equation Modeling. Routledge, New York.

Stevens, J. P. (1992). Applied Multivariate Statistics for the Social Sciences. NJ: Lawrence Erlbaum Associates. Hillsdale.

Tabachnick, B. G. and Fidell, L. S. (2007). Using Multivariate Statistics (5th ed.). New York: Allyn and Bacon.