อรรถปริวรรตวิธีหลักคำสอนของพุทธทาสภิกขุ
คำสำคัญ:
อรรถปริวรรตวิธี, หลักคำสอน, พุทธทาสภิกขุบทคัดย่อ
วิธีการทำความเข้าใจอย่างเห็นแจ้งแทงตลอดถึงหลักคำสอนของศาสดาของแต่ศาสนาที่บทความนี้ได้นำเสนอตามหลักการแห่งพระพุทธศาสนาโดยอิงหลักอรรถปริวรรตศาสตร์ของ พอล ริเคอร์ ซึ่งเรียกว่า วิธีวิทยาแบบอัตถิภาวนิยมเชิงปรากฎการณ์วิทยาเป็นพื้นฐานตามกระบวนทัศน์ที่ พุทธทาสภิกขุได้นำเสนอในหลักการ “ปริสุทธิญาณทฤษฎี” อันเป็นเพียงส่วนหนึ่งในการบ่งบอกถึงความเป็นโลกิยะแห่งภาษาคนที่นำคนไปสู่ความเป็นโลกุตระแห่งภาษาธรรม จนสามารถเข้าถึงแก่นธรรมของศาสนาผ่านการเข้าใจปรากฏการณ์แห่งประวัติศาสตร์ได้ โดยอาศัยการเข้าใจกรอบแนวคิดของวาทกรรมในรูปแบบต่าง ๆ ตามบริบทแห่งปรากฏการณ์บางตัวอย่างตามเนื้อหาที่พุทธทาสภิกขุได้นำเสนอ ซึ่งต้องอาศัยภาษาที่ต้องมีการเข้าใจว่ามีภาษาคนที่บรรจุไว้ซึ่งภาษาธรรมดังปรากฏในกระบวนทัศน์แห่งภาษาคนภาษาธรรมภายใต้การเข้าใจความเป็นมนุษย์ในกระบวนทัศน์ของหนังสือคู่มือมนุษย์ และปรากฏการณ์แห่งโรงมหรสพแห่งวิญญาณที่แสดงออกในภาษาสากลแห่งความเป็นศิลปะ อันก่อให้เกิดความเข้าใจมวลรวมแห่งปรากฏการณ์เชิงโลกิยะ เพื่อสร้างความว่างตามหลักการแห่งสุญญตาในการเข้าใจถึงความหมายของคำสอนแห่งศาสนาอย่างแจ่มแจ้ง
References
กีรติ บุญเจือ. (2525). มนุษย์รู้ได้อย่างไร. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช.
ปรุตม์ บุญศรีตัน. (2550). รูปแบบการตีความคัมภีร์ในพระพุทธศาสนาเถรวาท. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พุทธทาสภิกขุ. (2482). พุทธสาสนา. หนังสือพิมพ์รายตรีมาศ. ของคณะธรรมทาน ภาคทั่วไป ภาคไตรปิฎกแปลไทย ภาคส่งเสริมปฏิบัติ “ตอบปัญหาบาดหลวง” ฉบับออกพรรษา และมาฆบูชา ปีที่ 7 เล่มที่ 3-4 พฤศจิกายน กุมภาพันธ์ 2482.
พุทธทาสภิกขุ. (2510). ภาษาคน-ภาษาธรรม. กรุงเทพมหานคร: อักษรสัมพันธ์.
พุทธทาสภิกขุ. (2529). คริสต์ธรรม-พุทธธรรม. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา.
พุทธทาสภิกขุ. (2535). คู่มือมนุษย์-ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา.
พุทธทาสภิกขุ. (2548). ธรรมิกสังคมนิยม. กรุงเทพมหานคร: สุขภาพใจ.
พระเทพวิสุทธิเมธี (เงื่อม อินฺทปัญฺโญ). (2529). เล่าไว้เมื่อวัยสนธยา. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิโกมลคีมทอง.
พระธรรมปิฎก. (2538). พุทธธรรม. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตตฺโต). (2542). กรณีธรรมกาย. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สหธรรมิก จำกัด.
วิศรุ บวงสรวง. (2557). ก่อนจะมาเป็น “ธัมมิกสังคมนิยมแบบเผด็จการ: การเคลื่อนไหวทางความคิดของพุทธทาสภิกขุในทศวรรษ 2490 - พ.ศ.2509”. วารสารประวัติศาสตร์ธรรมศาสตร์, 1(1), 209-261.
สัมพันธ์ ก้องสมุทร. (2530). พุทธทาสภิกขุ นาคารชุนแห่งเถรวาท: ประวัติศาสตร์ชีวิตและ ผลงานพระเทพวิสุทธิเมธีมหาเถระประมวลภาพ 80 ปีแห่งความทรงจำและงานธรรมสมโภชน์ฉลองอายุฯ. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์.
Brede Kristensen. (1969). “The Meaning of Religion”, J.D. Bettis, (ed.). Phenomenology of Religion. London: Cambridge.
Kevin J. Vanhoozer. (1990). Biblical Narrative in the Philosophy of Paul Ricoeur: A Study in Hermeneutics and Theology. NY: Cambridge University Press.
Michael Seri Phongphit. (1978). The Problem of Religious Language: A Study of Buddhadasa Bhikkhu and Ian Ramsey as Models for a Mutual Understanding of Buddhism and Christianity. Doctoral Dissertation. Graduate School of Philosophy: München University.
Paul Ricoeur. (1976). Interpretation Theory: Discourse and the Surplus of Meaning. (Fort Worth, Texas: The Texas Christian University Press. https://clib.psu.ac.th/southerninfo/content/4/a72f775f (30 ธันวาคม 2563)
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความวารสารฉบับนี้ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น ไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของบรรณาธิการ