- ผลการเรียนรู้ เจตคติ และความพึงพอใจในการเรียนวิชาการนวดเท้า เข้าถึงใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษา โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ผู้แต่ง

  • Krongtip Nakvichet
  • Nat Nakwichet
  • Suchada Nakwichet

คำสำคัญ:

ผลการเรียนรู้, เจตคติ, ความพึงพอใจ, การนวดเท้าเข้าถึงใจ, นักเรียนชั้นประถมศึกษาโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองขั้นต้น เรื่องการเรียนรู้วิชานวดเท้าเข้าถึงใจซึ่งเป็นรายวิชาเลือกเสรี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการเรียนรู้ เจตคติ และความพึงพอใจของนักเรียน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 10 คนที่สมัครใจลงทะเบียนในรายวิชานี้ ใช้เวลาเรียนรวม 8 สัปดาห์  สัปดาห์ละ1 ครั้ง ครั้งละ 50 นาที เครื่องมือวิจัยที่ใช้ ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้จำนวน 8 หน่วย ที่เน้นการลงมือปฏิบัติและเสริมเจตคติเชิงบวกต่อการบริการนวดเท้า  แบบประเมินผลการเรียนรู้ แบบสัมภาษณ์เจตคติ และแบบประเมินความพึงพอใจ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย ปรากฏว่า 1) นักเรียนทั้ง 10 คนมีผลการเรียนรู้ ความตั้งใจ ความรับผิดชอบ ทักษะ และผลงานการนวดเท้า ในภาพรวมระดับดีมากและผ่านเกณฑ์การประเมินของโรงเรียน 2) นักเรียนทุกคนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้วิชานี้ การเรียนสนุก เห็นความสำคัญและมีประโยชน์ รู้สึกภูมิใจที่ทำให้ผู้อื่นผ่อนคลาย สบาย และมีความสุข 3) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนรู้รายวิชานวดเท้าเข้าถึงใจในระดับมากที่สุด

References

เอกสารอ้างอิง
กรมกิจการผู้สูงอายุ กรมพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2561). ยุทธศาสตร์กรมกิจการผู้สูงอายุ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สามลดา.
กรองทิพย์ นาควิเชตรและคณะ. (2562). การปฏิบัติตนเพื่อหลีกเลี่ยงภาวะปวดหลังส่วนล่างสำหรับผู้สูงอายุ. รายงานสืบเนื่องในการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 6 มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดขอนแก่น วันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2562. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.หน้า 766 – 777.
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม. (2563). สกสว ชี้ผลการวิจัยจีน หลังพบผู้ป่วยโควิด – 19 เป็นซ้ำ หวั่นเชื้อ
แพร่กระจาย แนะ รพ.ตรวจซ้ำวิธีต่าง กัก 14 วัน. (ออนไลน์) : ได้จาก
https://www.mhesi.go.th สืบค้นวันที่ 17 พฤษภาคม 2563.
กรุงเทพธุรกิจ. (2562). อัตราเกษียณอายุครูทั่วประเทศ. 17 กันยายน 2562 (ออนไลน์) : ได้จาก Bankokbiznew.com.
สืบค้นวันที่ 2 เมษายน 2563.
กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์. (2563). Factsheet, ไวรัสโคโรนาสายพันธ์ใหม่, ข้อกำหนดสถานการณ์ฉุกเฉินโควิด – 19
ฉบับที่ 1. ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ สำนักข่าวไทย อสมท. อินโฟกราฟิก 25 มีนาคม 2563.
ข่าวไทยพีบีเอส. (2563). ผลวิจัยสหรัฐฯ ชี้ COVID-19 ไม่ทนแดด ความร้อน ความชื้น. 17 พฤษภาคม 2563. (ออนไลน์) : ได้จาก https://news.thaipbs.or.th.
สืบค้นวันที่ 17 พฤษภาคม 2563.
ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2561). เสนอแนวคิด ใน การประชุมสภาคณบดีคณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์แห่งประเทศไทย. วันที่ 18 ธันวาคม 2562. ที่ สถาบันปัญญาภิวัฒน์ กรุงเทพมหานคร.
ธานี ชัยวัฒน์. (2563). พฤติกรรมการใช้ชีวิตในครัวเรือนไทยมีผลต่อการแพร่ระบาดโควิด – 19. Businesstoday วันที่ 18 เมษายน 2563. (ออนไลน์) : ได้จาก
https://businesstoday.co/covid-19/18/04/2020. สืบค้นวันที่ 17
พฤษภาคม 2563.
ณัฐพล แย้มฉิม. (2563). โพล : กิจกรรม“ยอดฮิด” ยุคโควิด – 19 ระบาด. สวนดุสิตโพล ส่งข่าว. วันที่ 10 พฤษภาคม 2563.
ไทยรัฐ ออนไลน์. (15 พฤษภาคม 2563) ผ่อนปรน “เคอร์ฟิว”ลดเวลาห้ามออกนอกเคหสถานเป็น 5 ทุ่ม- ตี 4. (ออนไลน์) : ได้จาก https://www.thairath.co.th/news/politic สืบค้นวันที่ 17 พฤษภาคม 2563.
พศิน อินทรวงค์. (2563). ทำ 10 เรื่องนี้พร้อม ๆ กันแล้วชีวิตจะดีขึ้นทุก ๆ ด้าน. วันที่ 10 มีนาคม 2563. (ออนไลน์) : ได้จาก https://today.line.me/th/
สืบค้นวันที่ 17 พฤษภาคม 2563.
เบ็ญจมาศ สุขศรีเพ็ง. (2550). ทฤษฎีระบบ
ของนิวแมน (Neuman System Model). (ออนไลน์) : ได้จาก
https://www.gotoknow.org. สืบค้นวันที่ 20 มิถุนายน 2562.
ปณิธี บราวน์. (2557). พฤฒพลัง : บทบาทของกลุ่มผู้สูงอายุและ “ทุน” ที่ใช้ในการขับเคลื่อนงานด้านผู้สูงอายุ. วารสาร
มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์. 31 (3) กันยายน - ธันวาคม 2557 : 97 – 120.
ภัทรพรรณ ทำดี. (2560). ตัวตน สังคม วัฒนธรรม เงื่อนไขสู่การสูงวัยอย่างมีศักยภาพของผู้สูงอายุในจังหวัดเชียงใหม่. วารสาร
สังคมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 47(2) : 109-131.
มหาวิทยาลัยสุโขทันธรรมาธิราช. (2561). สังคมผู้สูงอายุ : นัยต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ. (ออนไลน์) : ได้จาก https://www.stou.ac.th/stouonline สืบค้นวันที่ 9 มิถุนายน 2562.
วิชัย วงษ์ใหญ่ และมารุต พัฒผล. (2562ก).
การเรียนรู้เพื่อเสริมพลังสร้างสรรค์สังคม (Social Creativity). บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. กรุงเทพฯ : ศูนย์ผู้นำนวตกรรมการเรียนรู้. (ออนไลน์) ได้จาก :
www.curriculummandlearning.com. สืบค้นวันที่ 22 ตุลาคม 2562.
. (2562ข). Guide for Growth การชี้แนะเพื่อการเติบโตทางการเรียนรู้. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ. กรุงเทพฯ : ศูนย์ผู้นำ
นวตกรรมการเรียนรู้. (ออนไลน์) ได้จาก :
www.curriculummandlearning.com. สืบค้นวันที่ 12 ธันวาคม 2562.
วิภานันท์ ม่วงสกุล. (2558) วิจัยการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ตามลำพัง. วารสารวิจัยสังคม. 38 (2) กรกฎาคม -
ธันวามคม 2558 : 93 – 52.
ศุภเจตน์ จันทร์สาส์น. (2555). วิจัยพฤฒิพลังของผู้สูงอายุ การปันผลทางประชากรและโอกาสทางเศรษฐกิจของประเทศไทยในสังคมสูงอายุ. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์). 4 (7) : 201 – 214.
สุรสีห์ ประสิทธิรัตน์. (2558). ชีวิตหลังเกษียณของข้าราชการครู. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สำนักสถิติแห่งชาติ กระทรวงดิจิตัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. (2561). ดัชนีพฤฒพลังผู้สูงอายุไทย. กรุงเทพฯ :
เท็กซ์ แอนด์ เจอนัลพับลิเคชั่น จำกัด.
สำเริง แหยงกระโทก. (2563). ความรู้เรื่อง “โควิด
- 19”สำหรับเจ้าหน้าที่ สธ. และ อสม. หน่วยรบแนวหน้าออกเคาะประตูชาวบ้าน
ทุกหลังคาเรือน. อสม.หมอประจำบ้านและทีมหมอครอบครัว.
หฤทัย กงมหา และคณะ. (2560) การพัฒนารูปแบบส่งเสริมพฤฒิพลังในผู้สูงอายุ อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา. วารสาร
วิทยาลัยนครพนม ฉบับการประชุมวิชาการครบรอบ 25 ปี. วันที่ 17- 19 พฤศภาคม 2560 : 54 – 62.
อนันต์ อนันตกูล. (2559). สังคมสูงวัย … ความ
ท้าทายของประเทศไทย. เอกสารเสนอที่ประชุมราชบัณฑิตและภาคีสมาชิก
สำนักธรรมศาสตร์และการเมือง
ราชบัณฑิตยสภา. (ออนไลน์) : ได้จาก http://www.royin.go.th
สืบค้นวันที่ 9 มิถุนายน 2562.
อาภารัตน์ ราชพัฒน์. (2554). การพัฒนาตัวบ่งชี้
ภาวะผู้นำของครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน.
วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น
NBT. (2563ก). COVID – 19 TV. ข่าวเที่ยง NBT. เปิดดูเมื่อวันที่ 3 เมษายน 2563.
. (2563ข). การแถลงข่าวศูนย์บริหารสถานการณ์ COVID – 19 (ศคบ.). ข่าวเที่ยง NBT. ณ ตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล เปิดดูเมื่อวันที่ 28 เมษายน 2563
. (2563ค). การแถลงข่าวศูนย์บริหารสถานการณ์ COVID – 19 (ศคบ.). ข่าวเที่ยง NBT. ณ ตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล. เปิดดูเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2563.
Karlheinz Peter and Others (EDT). (2020). People with coronavirus are risk of blood clots and stroke.
April 30, 2020. [Online]. Avaiable :
https://theconversation.com/people-with-coronavirus-are-at-risk-17/5/2020.
news. Thaipbs. (2563). งานวิจัยชี้ ดวงตาเป็นจุดเปราะบางต่อการติดเชื้อโควิด – 19. วันที่ 8 พฤษภาคม 2563. (ออนไลน์) :
ได้จาก https://news.thaipbs.or.th/
สืบค้นวันที่ 12 พฤษภาคม 2563.
Osman, P. (2008). Management Principles. [Online]. Avaiable :
http://www.scribd.com. 24/1/2009.
POSITIONING. (2020). งานวิจัยอังกฤษชี้ ‘คนผิวสี’ เสี่ยงเสียชีวิตจาก COVID - 19 มากกว่าขาวถึง 4 เท่า. (ออนไลน์) : ได้จาก
https://positioningmag.com/
สืบค้นวันที่ 17 พฤษภาคม 2563.
Sheena Lewis. (2020). Sperm containing virus raises small risk of COVID – 19 spread via sex : study. May 8, 2020.
[Online]. Avaiable : https://timesofindia.indiatimes.com
17 /5/2020.
World Health Organization. (2020). There is a current outbreak of Coronavirus (COVID - 19) disease. [Online]. Available : https://www.who.int/
health-topics/coronavirus.
30/3/2020.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-12-08

ฉบับ

บท

บทความวิจัย