The Participatory Action Research in the Experiential Tourism Management by the Ethnic Group Community of Thai Puan Living in Pak Phli, Nakorn Nayok Province

Main Article Content

Nattapat Manirochana
Nart-Anong Nambuddee

Abstract

This research is aimed to study the competency and tourism property managed with the experiential tourism management and expectation of tourist in order to use it to develop the tourism product and propose the best practice for management the tourism with experience by the ethnic group community of Thai Puan Pak Phli Nakorn Nayok province. This research is conduced by three research methods including indepth interview, check list and participant observation. The Key informant is the 23 persons involving in community tourism of Thai Puan ethic tourism in Pak Phli. The data from this research analyzed with technique called the content analysis and the research questionnaire is used for this quantitative research. The index of reliability of this research is .78 from the sampling group of 40 tourist and the return of the questionnaires is 247 set which can be calculated as 68.50 percentage of all questionnaires submitted. The result of the research indicates that 1. The tourism capital of Thai Puan tourism community is the cultural capital and local wisdom which has its traditional style composed with their language, unique dressing, cultural and social tradition for twelvemonths called “Hiit Sibsong Tradition”, life style and Traditional art performance of 4 Thai Puan communities located in Bangplee including Fung Klong, Ban Mai, Ta daeng and Kor Whai Communites, 2. The 84.23 of Tourist expectation indicates that they need the authenticity of activity showing the life style of the ethnics which created by the authentic in process and authentic tourism product. 81.27 percentage of tourist expectation of the research shows that they need to participate than observe in order to hand –on an experience and understand the specific cultural of the ethnics group. Tourism activities and tourism products are included with the learning of traditional lifestyle of Thai Puan ethnics through the traditional Thai Puan Museum located at Fung Klong community, Canal Cruise to see the traditional lifestyle of people living by the canal side, Living with ethnic hosting, trying the Traditional food of Thai Puan, enjoying the traditional welcoming ceremony and performing and participating in traditional food culinary or weaving and 3. The best practice for the experiential tourism management should focus on activity which can forward the experience of tourist thorough the authenticity of local wisdom and local capital Moreover, the participation of Thai Puan ethnic people should be promoted in order to give them an opportunity to planning, processing and managing the tourism plan in their community.

Article Details

How to Cite
Manirochana, N. ., & Nambuddee, N.-A. (2020). The Participatory Action Research in the Experiential Tourism Management by the Ethnic Group Community of Thai Puan Living in Pak Phli, Nakorn Nayok Province. Asia Social Issues, 13(2), 499–522. Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/asi/article/view/183524
Section
Research Article
Author Biography

Nattapat Manirochana, Faculty of Business Administrator for Society, Srinakharinwirot University Wattana District, Bangkok 10110, Thailand

ประวัติการศึกษา
ปริญญาตรี
บธ.บ. (การจัดการ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
บธ.บ. (การจัดการการท่องเที่ยว และการโรงแรม) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ปริญญาโท
วท.ม. (การวิจัย และสถิติทางวิทยาการปัญญา) มหาวิทยาลัยบูรพา
กศ.ม. (การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยบูรพา
วท.ม. (การจัดการท่องเที่ยงเชิงนิเวศชุมชน) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ผ.ม. (การวางแผนชุมชนเมืองและสภาพแวดล้อม) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ปริญญาเอก
ปร.ด. (การจัดการการท่องเที่ยว) มหาวิทยาลัยพะเยา


ประสบการณ์การงานวิจัย (
5 ปีย้อนหลัง: 2558-2562)

หัวหน้าโครงการวิจัย

2562   การศึกษาศักยภาพ และผลกระทบของธุรกิจการให้เช่าที่พักระยะสั้น เพื่อการท่องเที่ยวท่องเที่ยวในประเทศไทย, ทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

2562   การศึกษาศักยภาพ และการเพิ่มมูลค่าเชิงพาณิชย์ของผลิตภัณฑ์ทางการท่องเที่ยวบนฐานทรัพยากรของชุมชนโดยการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่, ทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ                                                                                                     

2561   การวิเคราะห์แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวที่เกี่ยวข้องกับประเทศไทย และสาธารณรัฐประชา-ธิปไตยประชาชนลาว, ทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

2561   ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้คุณภาพบริการส่วนประสมทางการตลาดบริการกับความตั้งใจเชิงพฤติกรรมของลูกค้าชาวไทยที่ซื้อกาแฟพรีเมี่ยมในพื้นที่กรุงเทพมหานคร, ทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

2561   การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมในการจัดการการท่องเที่ยวเชิงประสบการณ์โดยชุมชนของกลุ่มชาติพันธุ์ไทพวน อำเภอปากพลี จังหวัดนครนายก, ทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

2558   ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ของประเทศไทย, ทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

 

นักวิจัยร่วม

2562 การประเมินนโยบายของภาครัฐในการส่งเสริมธุรกิจ SMEs ของประเทศไทย: ศึกษาเปรียบเทียบแบ่งตามรายภูมิภาค และรายประเภท, ทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

2562   การพัฒนาดัชนีชี้วัดความพร้อมการพัฒนาการท่องเที่ยวสู่สากลในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก กรณีศึกษาความมั่นคงทางทรัพยากรน้ำและการจัดการ, ทุนอุดหนุนการวิจัยจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2561   การพัฒนาเครื่องมือจากการประเมินความสุขจากการท่องเที่ยวโดยชุมชน, ทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

2561   แนวทางการจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศอย่างสร้างสรรค์ของชุมชนบางปู จังหวัดปัตตานี,ทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

2560   การพัฒนาภาพลักษณ์ และการท่องเที่ยวเชื่อมโยงในพื้นที่อารยธรรมล้านนากับกลุ่มอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงตอนบน, ทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

2560   การศึกษากลุ่มตลาดนักท่องเที่ยวในเส้นทางเชื่อมโยงในพื้นที่อารยธรรมล้านนากับกลุ่มอนุภาคลุ่มน้ำโขงตอนบน, ทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

2560   กลยุทธ์การสร้างภาพลักษณ์และมูลค่าเพิ่มจากธุรกิจสปาและการนวดแผนไทย เพื่อรองรับการเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ, ทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

2559   การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์จากเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม และความหลากหลายของทรัพยากรทางธรรมชาติในพื้นที่เกาะสุกร อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง, ทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

2559   แนวทางการพัฒนาพื้นที่ด่านชายแดนบ้านฮวกเพื่อรองรับการท่องเที่ยวข้ามพรมแดน,ทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

2558   การศึกษาศักยภาพด้านการท่องเที่ยวในพื้นที่แก่งผาได อำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย และพื้นที่เชื่อมโยง, ทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

2558   การพัฒนาผู้ประกอบการในพื้นที่ล้านนาตะวันออกเพื่อรองรับการเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงประสบการณ์, ทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

2558   การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงประสบการณ์ในพื้นที่อำเภอวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว, ทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

 

บทความวิจัย/บทความวิชาการ

ณัฏฐพัชร มณีโรจน์. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้คุณภาพบริการ ส่วนประสมทางการตลาดบริการกับความตั้งใจเชิงพฤติกรรมของลูกค้าชาวไทยที่ซื้อกาแฟพรีเมี่ยมในพื้นที่กรุงเทพฯ. วารสารศิลปะศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่. (อยู่ระหว่างการประเมินฯ)

ณัฏฐพัชร มณีโรจน์. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างภาพลักษณ์แหล่งท่องเที่ยว คุณภาพบริการ ความพึงพอใจ และความตั้งใจเชิงพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวที่เดินทางท่องเที่ยวในตลาดชุมชนจีนโบราณบ้านชากแง้วจังหวัดชลบุรี. วารสารวิชาการศรีปทุมชลบุรี. 15(2), 117-130.

ณัฏฐพัชร มณีโรจน์ และอัควรรณ์ แสงวิภาค. (2561). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้คุณภาพบริการกับความปลื้มใจของผู้รับบริการชาวต่างประเทศที่เข้ารับบริการทางการแพทย์ในโรงพยาบาลเอกชนในจังหวัดชลบุรี. วารสารวิทยาศาสตร์การกีฬา และสุขภาพ. 19(1), 87-99.

ณัฏฐพัชร มณีโรจน์ และสุวิทย์ สุวรรณโณ. (2561). แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวแบบไม่รีบเร่ง อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี. วารสารรัชต์ภาคย์. 12(25), 246-255.

จุฑาธิปต์ จันทร์เอียด, อังสุมาลิน จำนงชอบ, ณัฏฐพัชร มณีโรจน์ และวุฒิพงษ์ ทองก้อน. (2561). รูปแบบที่ส่งผลต่อความสำเร็จของการจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศอย่างยั่งยืน ของชุมชนบางกระเจ้า จังหวัดสมุทรปราการ. วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน. 24(4), 548-560.   

จุฑาธิปต์ จันทร์เอียด, อังสุมาลิน จำนงชอบ, อรัญ วานิชกร และณัฏฐพัชร มณีโรจน์. (2561). ศักยภาพอัตลักษณ์ความเป็นไทยของธุรกิจสปา และการนวดแผนไทยเพื่อยกระดับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสู่สากล.วารสารปัญญาภิวัฒน์ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์. 10(2), 1-16.

จุฑาธิปต์ จันทร์เอียด อังสุมาลิน จำนงชอบ และณัฏฐพัชร มณีโรจน์. (2562). การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงประสบการณ์ในพื้นที่อำเภอวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว. วารสารศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่. 10(2), 156-187.

พิมพรรณ สุจารินพงค์ ณัฏฐพัชร มณีโรจน์ และณรงค์พงศ์ เพิ่มผล. (2561). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์กับความตั้งใจเชิงพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ประเทศไทย. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่. 10(1), 229-253.

ณัฏฐพัชร มณีโรจน์. (2560). การจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน. วารสารวิชาการการท่องเที่ยวไทยนานาชาติ. 13(2), 25-46.

ณัฏฐพัชร มณีโรจน์ และสุวิทย์ สุวรรณโณ. (2560). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบการท่องเที่ยวการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน และการตัดสินใจเดินทางท่องเที่ยว กับการท่องเที่ยวแบบไม่รีบเร่ง อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี. วารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี. 14(1), 202-213. 

จุฑาธิปต์ จันทร์เอียด, อังสุมาลิน จำนงชอบ และณัฏฐพัชร มณีโรจน์. (2560). แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์อย่างยั่งยืนของชุมชนบ้านริมคลอง จังหวัดสมุทรสงคราม. วารสารธุรกิจปริทัศน์. 9(2), 21-38.

กรกช ตราชู กชกร ศรีทะวงษ์ ณัฎฐดิษฐ์ ดิษฐ์วัฒนกูล และณัฏฐพัชร มณีโรจน์. (2560). การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ในพื้นที่บ้านด่านเกวียน อำเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา. วารสารรัชต์ภาคย์. ฉบับพิเศษครบรอบ 23 ปี, 162-177.

นพรัตน์ เขียวสูงเนิน สินทิวา เจริอภิรักษ์ ชนิชา หิรัญธนาภัทร์ และณัฏฐพัชร มณีโรจน์. (2560) การพัฒนาศักยภาพ และสร้างเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงพุทธ ในเขตเมือง จังหวัดนครราชสีมา. วารสารรัชต์ภาคย์.ฉบับพิเศษครบรอบ 23 ปี, 361-370.

เศรษฐวัสภุ์ พรมสิทธิ์ และณัฏฐพัชร มณีโรจน์. (2559). โมเดลสมการโครงสร้างความผูกพันต่อองค์การของพนักงานโรงแรมในเมืองพัทยา. การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยคริสเตียน. 6 มิถุนายน 2559.

ณัฏฐพัชร มณีโรจน์ และนราศรี ไววาณิชกุล. (2559). ความสามารถในการแข่งขันของการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ของประเทศไทย. วารสารปาริชาต. 11(2), 196-215.

ณัฏฐพัชร มณีโรจน์. (2558). แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ของประเทศไทย. วารสารศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 11(2), 41-74.

ณัฏฐพัชร มณีโรจน์. (2558). การประยุกต์ใช้ปัญหาเป็นฐานในการเรียนรู้จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา. การประชุมวิชาการด้านการพัฒนานักศึกษาระดับชาติ ครั้งที่ 5 สร้างบัณฑิตไทยสู่ประชาคมอาเซียน วันที่ 13-15 กรกฎาคม 2558 ณ โรงแรมเซ็นทาราคอนเวนชันเซ็นเตอร์ จังหวัดอุดรธานี, สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.

ณัฏฐพัชร มณีโรจน์ และวีรวิชญ์ เลิศไทยตระกูล. (2557). การรับรู้คุณภาพบริการของผู้รับบริการโรงพยาบาลเอกชนในเขตจังหวัดชลบุรี, ประชุมวิชาการพะเยาวิจัย ครั้งที่ 3 ในวันศุกร์ที่ 24 มกราคม 2557 มหาวิทยาลัยพะเยา จังหวัดพะเยา.

ณัฏฐพัชร มณีโรจน์. (2556). การศึกษาความตั้งใจเชิงพฤติกรรมของลูกค้าอุตสาหกรรมด้านสุขภาพในเขตจังหวัดชลบุรี, ประชุมวิชาการวิทยาการจัดการวิชาการ ครั้งที่ 3 ในวันจันทร์ที่ 1 กรกฎาคม 2556 มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.

ณัฏฐพัชร มณีโรจน์. (2556). การพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของความตั้งใจเชิงพฤติกรรมในการใช้บริการของลูกค้าอุตสาหกรรมด้านสุขภาพในเขตจังหวัดชลบุรี. วารสารวิทยาการจัดการปริทรรศน์.15(15).

งานที่ปรึกษา
2562 โครงการพัฒนายกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชนสู่สากล ปี 2562, กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

2561 โครงการจัดทำแผนปฏิบัติการพัฒนาการท่องเที่ยว ตามทิศทางการพัฒนาภาคในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564), สำนักงานปลัดกระทรวงท่องเที่ยว และกีฬา, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

2560 โครงการจัดทำแผนยุทธศาสตร์พัฒนาการท่องเที่ยว พ.ศ.2561-2564 ของกรมการท่องเที่ยว, กรมการท่องเที่ยว, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

2560 โครงการศึกษา วิเคราะห์ และประเมินความเหมาะสมพื้นที่ทั่วประเทศเพื่อกำหนดเป็นเขตพัฒนาการท่องเที่ยวเพิ่มเติม, สำนักงานปลัดกระทรวงท่องเที่ยว และกีฬา, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

References

Burns, N., & Grove, S. K. (1997). The Practice of Nursing Research : Conduct Critique and Utilization (3rd ed.). Chicago: Rand Mcnally.

Cronbach, L. J. (1951). Coefficient alpha and the internal structure of tests. Psychometrika. 16, 297-334.

Chinachot, P., & Chantuk, T. (2016). Modelof Creative Tourism Management in SuanPhueng. Veridian E-Journal, Silpakorn University, 9(1), 250-268.

Junead, J., Jamnongchob, A., & Manirochana, N. (2015). Experiential Tourism Development at Watthana Nakhon District, Sa Kaeo Province. Journal of Liberal Arts, Prince of Songkla University, 10(2), 156-187.

Khiaomaneerat, P., Petchkam, S., Vaseenonta, C., & Singyabuth, S. (2018). Ban Phu: The Phutai Ethnic Identity and Development Administration In the Context of Sustainable Cultural Tourism. Nakhon Phanom University Journal, 8(2), 17-25.

National Statistical Office. (2015). Tourism Statistics 2015. Retrieved from: http://nknayok.nso.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=322:tour092017&catid=84&Itemid=558

Pathomkanjana, C., & Sungruksa, N. (2015). Guidelines for the Promotion of Cultural Tourism Participation of Community Bangluang, Banglen District, Nakhon Pathom Province. Academic Services Journal Prince of Songkla University, 26(1), 118-129.

Pisalbud, S. (2005). Study Statistics and Research Methodology by Case Study. Bangkok: Witthayaphat Co., Ltd.

Plueaysri, P. and Aneksuk, B. (2018). Ethnic Tourism in Vietnam: Development and Present Status. Journal of Liberal Arts, Prince of Songkla University, 10(1), 1-20.

Prasongthan, S. (2014). Social Capital Potentiality for Creative Community Based Tourism: The Study of Tai Puan Community, Pak Plee District, Nakorn Nayok Province. Journal of Social Sciences Srinakharinwirot University, 16(2), 1-11.

Ratanasuwongchai, N. (2011). Cultural Tourism Development Strategies. Humanities Journal, 18(1), 31-50.

Thongchompunuch, P., & Lapanun, P. (2015). Ethnic Tourism: Mon Ethnic Identity and Economic Opportunity Generation. Journal of Mekong Societies, 14(3), 102-124.

Wetchawong, D. (2011). The Presentation of the Yuan Ethnic Identity in the Context of Tourism via Local Museum and Riverside Market : a Case Study of Yuan Community, Tombon Tontan, Sao Hai District, Saraburi Province. Academic Services Journal, Prince of Songkla University, 22(3), 130-149.

Wiratchai, N. (2005). Pursuating Statitics. Bangkok: Faculty of Education, Chulalongkorn University.

Wisudthiluck, S., Saiphan, P., Teparakul, O., & Sindecharak, T. (2013). Creative Tourism. Bangkok: Designated Areas for Sustainable Tourism Administration (Public Organization).

Yamane, T. (1973). Statistic: An Introductory Analysis. 3rd ed. New York: Harper and Row.