Representation of Bhanthainorasingha Spirit God: The Paradox Between Folk Believe and Bureaucratic Ideology (in Thai)

Main Article Content

Narupon Duangwises

Abstract

This paper aims to explain that the belief in Bhanthainorasingha spirit god in Samutsakon province is constructed by historical events and cultural myth. This construction leads to the different two forms of revelation of Bhanthainorasingha spirit god. On the one hand, in the folk belief Bhanthainorasingha is worshiped as god of fortune. On the other, in bureaucratic ideology, Bhanthainorasingha is revered as deity of honesty. These two meanings are contradicted but coexist in the concurrent social context in which people need to count on the sacred spirit and hero symbol. 

 

การให้ความหมายเจ้าพ่อพันท้ายนรสิงห์ความย้อนแย้งระหว่างคติชาวบ้านกับอุดมการณ์ราชการ

บทความนี้ต้องการอธิบายว่าความเชื่อเกี่ยวกับเจ้าพ่อพันท้ายนรสิงห์ในจังหวัดสมุทรสาครที่อาศัยเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์และคติความเชื่อทางวัฒนธรรมมาเป็นฐานความคิด ซึ่งนำไปสู่การเทิดทูนเคารพบูชาพันท้ายนรสิงห์ภายใต้ความหมายที่แตกต่างกันสองแบบ แบบแรกคือคติความเชื่อของชาวบ้านที่บูชาพันท้ายนรสิงห์ในฐานะเจ้าพ่อแห่งโชคลาภ แบบที่สองคืออุดมการณ์ราชการที่เคารพยกย่องพันท้ายนรสิงห์ในฐานะเทพเจ้าแห่งความซื่อสัตย์ ทั้งสองความหมายนี้มีความไม่ลงรอยกันแต่ดำรงอยู่ร่วมกันภายใต้บริบทสังคมปัจจุบันที่คนต้องการพึ่งสิ่งศักดิ์สิทธิ์และสัญลักษณ์ของวีรุบุรุษ

Article Details

How to Cite
Duangwises, N. (2017). Representation of Bhanthainorasingha Spirit God: The Paradox Between Folk Believe and Bureaucratic Ideology (in Thai). Asia Social Issues, 10(1), 15–53. Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/asi/article/view/94143
Section
Research Article