Online Social Networks and the Opening of New Areas of LGBT Movements in Indonesia (in Thai)

Main Article Content

Kanlayanee Ketkeaw

Abstract

This research aimed to analytically study the movements of LGBT groups on online social networks that eventually lead to the demand for rights, self-disclosure or social acceptance in Indonesian society. The findings reveal that the movements of LGTB groups on online social networks represent new space that builds up understanding, self-acceptance, information sharing and free speech only among those who are members of the closed group feature of Facebook. Therefore, social networks cannot be genuine public space as a channel for political ideology battle or demand for rights as defined by Habermas due to the limitations in terms of time, space, social status, fear of confrontation with others, self-acceptance, differences in the family backgrounds and upbringing that is geared towards gender bias. As a result, there are a smaller number of people being active in demanding rights on general public spaces than those enthusiastically offering their opinions on online social networks.

  

เครือข่ายสังคมออนไลน์กับการเปิดพื้นที่ รูปแบบใหม่ให้กับการเคลื่อนไหวของกลุ่ม LGBT ในอินโดนีเซีย

การศึกษาเครือข่ายสังคมออนไลน์ 2 กับ การเปิดพื้นที่รูปแบบใหม่ให้กับการเคลื่อนไหวของ กลุ่ม LGBT ในอินโดนีเซีย มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาและวิเคราะห์การเคลื่อนไหวของกลุ่ม LGBT บนพื้นที่เครือข่ายสังคมออนไลน์ที่จะนำ ไปสู่การเรียกร้องสิทธิ การเปิดเผยตัวตน หรือการ ยอมรับในพื้นที่สาธารณะจากสังคมอินโดนีเซีย ผลการศึกษาพบว่า การเคลื่อนไหวของกลุ่ม LGBT บนพื้นที่เครือข่ายสังคมออนไลน์เป็นพื้นที่ รูปแบบใหม่ที่สร้างความเข้าใจ การยอมรับตนเอง การแบ่งปันข้อมูล การมีส่วนร่วมในการแสดง ความคิดเห็นได้อย่างเสรีได้เพียงเฉพาะกลุ่มที่ใช้ เฟซบุ๊กแบบปิด (close group) ทำให้ยังไม่สามารถเป็นพื้นที่สาธารณะ ในฐานะเครื่องมือสำหรับการต่อสู้ทางการเมือง หรือการต่อสู้เพื่อเรียก ร้องสิทธิต่าง ๆ ได้อย่างแท้จริงตามทัศนะของฮาเบอร์มาส เพราะข้อ จำกัดของกลุ่ม LGBT เรื่องเวลา พื้นที่ ฐานะทางสังคม การไม่กล้า เผชิญหน้าหรือยอมรับตัวตนต่อคนรอบข้าง ด้วยพื้นฐานครอบครัวที่ แตกต่างกันของแต่ละคนและการได้รับการอบรมสั่งสอนหรือปลูกฝัง ในทางที่ไม่ดีต่อการเป็นคนรักเพศเดียวกัน ทำให้จำนวนผู้ที่ออกมาทำ กิจกรรมเพื่อการเคลื่อนไหวเรียกร้องสิทธิบนพื้นที่สาธารณะทั่วไปมี จำนวนน้อยกว่าคนที่เคลื่อนไหวและร่วมแสดงความคิดเห็นต่าง ๆ อย่าง กระตือรือร้นในพื้นที่เครือข่ายสังคมออนไลน์

Article Details

How to Cite
Ketkeaw, K. (2015). Online Social Networks and the Opening of New Areas of LGBT Movements in Indonesia (in Thai). Asia Social Issues, 8(1), 225–257. Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/asi/article/view/94661
Section
Research Article